Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเฉลียวฉลาด, เฉลียว, ฉลาด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเฉลียวฉลาด, 3744 found, display 751-800
  1. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  2. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  3. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  4. ชีวิตาสา : อิต. ความหวังในชีวิต, ความต้องการเป็นอยู่
  5. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  6. ชีวิตินฺทฺริย : นป. ชีวิตินทรีย์, ความเป็นใหญ่แห่งชีวิต, กำลังแห่งชีวิต, ความสำคัญแห่งชีวิต, อินทรีย์คือชีวิต
  7. ชีวี : (วิ.) มีความเป็นอยู่, มีชีวิตอยู่, ชีวศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  8. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  9. ชุติ : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อิ ปัจ.
  10. ชุติก : ค. มีแสงสว่าง, มีความสดใส
  11. ชุติมตา : อิต. ความสุกใส, ความรุ่งเรือง
  12. ชุติมนฺตุ : (ปุ.) คนมีความรุ่งเรือง, ฯลฯ.
  13. เชคุจฺฉิตา : อิต. ความไม่พอใจ, ความสะอิดสะเอียน
  14. โชตน : (วิ.) ผู้รุ่งเรืองโดยปกติ, ผู้มีความรุ่งเรือง , ฯลฯ. รูปฯ ๕๗๕.
  15. โชติก : (วิ.) ผู้มีความรุ่งเรือง, ฯลฯ, โชดึก.
  16. โชติปรายน : ค. มีความสว่างหรือรุ่งเรืองเป็นเบื้องหน้า, มีอนาคตแจ่มใส, มีอนาคตรุ่งโรจน์
  17. โชติปาสาณ : ป. หินที่ทำให้เกิดความร้อนหรือแสงสว่าง
  18. โชเตติ : ก. ส่องแสง, ให้แสงสว่าง, ทำให้แสงสว่าง, อธิบายความ
  19. โชเตตุ : อ. (ปฐ. จตุ) การให้แสงสว่าง, การอธิบายความ, เพื่อให้แสงสว่าง, เพื่ออธิบายความ
  20. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  21. ฌานวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยฌาน
  22. ฌายน : (นปุ.) ความเพ่ง, ความพินิจ, ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. เฌ จินฺตายํ ทิตฺติยญจฺ ยุ.
  23. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  24. ญา : (อิต.) ความรู้. ญา ธาตุ อ ปัจ. อา อิต.
  25. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  26. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  27. ญาณชาล : นป. ข่ายคือญาณ, ข่ายคือความรู้
  28. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  29. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  30. ญาณทสฺสี : นป. ผู้มีความเห็นอันแจ่มแจ้ง
  31. ญาณปถ : ป. คลองแห่งญาณ, แนวทางแห่งความรู้
  32. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  33. ญาณวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยญาณ
  34. ญาณินฺทฺริย : นป. ญาณินทรีย์, พลังแห่งญาณ, ความสามารถหรือยิ่งใหญ่แห่งญาณ
  35. ญาณี : (วิ.) มีความรู้, มีปัญญา. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  36. ญาณูปปนฺน : ค. ผู้เข้าถึงญาณ, ผู้บรรลุญาณ, ผู้ประกอบด้วยความรู้
  37. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  38. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  39. ญาติปริวฏฺฏ : นป. ความหมุนเวียนแห่งญาติพี่น้อง, เครือญาติ
  40. ญาติวฺยส : นป. ความพินาศแห่งญาติ, การเสื่อมแห่งญาติ
  41. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  42. ญาติสิเนห : ป. ความเสน่หาในญาติ, ความรักญาติ
  43. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  44. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  45. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  46. ฐานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนก โดย ฐานะ, โดยฐานะ, โดยพลัน โส ปัจ. ฐานตัท.
  47. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  48. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  49. ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  50. ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น, ๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3744

(0.0882 sec)