Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 351-400
  1. ทิพฺโพสธ : นป. ทิพยโอสถ, ยาทิพย์, ยาวิเศษ
  2. ทิวงฺคต : (วิ.) ไปแล้วสู่สวรรค์, ไปสู่สวรรค์, ไปสวรรค์, ไทยใช้ทับศัพท์ว่า ทิวงคต ใช้เป็นกริยาสำหรับพระยุพราชหรือเทียบเท่าเมื่อสิ้นชีวิต.
  3. ทิวา : (อัพ. นิบาต) วัน, กลางวัน, ในกลางวัน. อภิฯ ลงใน ปฐมาทุติยา และ สัตตมี. รูปฯ ลงใน ปฐมา ทุติยา และกาลสัตตมี.
  4. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  5. ทุปฺปูร : (วิ.) อัน...ให้เต็มได้ดดยยากล ให้เต็มได้ยาก.
  6. ทุผสฺส : (ปุ.) ผัสสะหยาบ, อเนกคุณคัน อเนกคุณ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทำยาไทย มีขนและหนามเล็กตามกิ่งก้านและใบ ถูกเข้าจะคัน.
  7. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  8. ทุสฺสจาลนี : อิต. ผ้ากรองยา
  9. เทฑฺฑุภ : (ปุ.) งูน้ำ วิ. เทฑฺเฑน ราชิยา อุภตีติ เทฑฺฑโภ, เทฑฺฑปุพฺโพ, อุภฺ ปปูรเณ, อ. ฎีกาอภิฯ เป็น เทฑฺฑุ.
  10. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  11. เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
  12. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  13. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  14. ธมฺมวินย : (ปุ.) ธรรมและวินัย, พระธรรมและพระวินัย, พระธรรมวินัย. วิ. ธมฺมโม จ วินโย จ ธมฺมวินโย. ส. ทิคุ. บทปลงไม่เป็น ธมฺมวินยํ หรือ ธมฺมวินยา เป็นลักษณะพิเสษของศัพทฺเหมือน ลาภสกฺกาโร.
  15. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  16. ธมฺโมสถ : นป. ธรรมอุโบสถ, ยาคือธรรม
  17. ธวตฺถินี : (อิต.) หญิงผู้ต้องการผัว, หญิงผู้ปรารถนาผัว. วิ. ธวํ อตฺถยตีติ ธวตฺถินี. ธวปุพฺโพ, อตฺถฺ ยาจนิจฉาสุ, อินี.
  18. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  19. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  20. ธุวยาคุ : อิต. ธุวยาคู, ข้าวต้มหรือยาคูที่ให้เป็นประจำ
  21. นตฺถุ : (อิต.) จมูก. นาสฺ สทฺเท, ถุ, รสฺโส, สสฺส โต. ไทย ยานัตถุ์ ก็คือยาที่เป่าเข้า ไปในจมูก.
  22. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  23. นโม : (อัพ. นิบาต) ไหว้. ลงในอรรถ ปฐมา ทุติยาวิภัติ รูปฯ และอภิฯ.
  24. นรท : นป. โกศชฎามังสี, ยาขี้ผึ้ง
  25. นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
  26. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  27. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. นาวิกวิชฺชา : (อิต.) วิชาเดินเรือ, นาวิกวิทยา. ส. นาวิกวิทฺยา.
  29. นาสา : (อิต.) จมูก, งวง (จมูกของช้างที่ ยื่นออกไป). วิ. นาสนฺติ อพฺยตฺตสทฺทํ กโรนฺติ เอตายาติ นาสา. นาสุ สทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. นสา, นาสา.
  30. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  31. นิท : ป. ยาพิษ
  32. นินฺน : (วิ.) ลุ่ม, ลึก. นิปุพฺโพ,มนฺ อภฺยาเส, โณ, มสฺส โน.
  33. นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
  34. นิมฺมนฺถยทารุ : (ปุ.) หลักสำหรับผูกสัตว์ฆ่า บูชายัญ. วิ. นิมฺมถียเตติ นิมฺมนฺโถย. ยํ กฏฐ อคฺคินิปฺยาทนตฺถํ กฏฐนฺตเรน ฆํสียเต โส นิมฺมนฺถฺยทารุ.
  35. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  36. นิยุร : (ปุ.) ทองปลายแขน, กำไรมือ. นิ นเย, อุโร, อิยาเทโส (แปลง อิ เป็น อิย).
  37. นีลวลฺลี : อิต. ไม้เถาชนิดหนึ่งใช้เป็นยา
  38. ปฏิจฺฉาที : อิต. เครื่องปกปิด, เครื่องป้องกัน, ผ้าปิด (ฝี), ยาพอกเพื่อถอนพิษ
  39. ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
  40. ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
  41. ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
  42. ปถิต : (วิ.) ปรากฏ, มีชื่อเสียง. ปถฺ วิขฺยาเต, โต, อิอาคโม.
  43. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  44. ปยฺยกา ปยฺยิกา : (อิต.) ย่าทวด, ยายทวด, ย่า ชวด, ยายชวด. วิ. มาตุยา อยฺยกา อยฺยิกา วา ปยฺยกา ปยฺยิกา. ลบ ตุ รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  45. ปรทาริก : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งภรรยาของคนอื่น ( ผิดเมียเขาในทางประเวณี ) วิ. ปรทารํ คจฺฉตีติ ปรทาริโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  46. ปิยงฺค : ป., อิต. ข้าวฟ่าง; ประยงค์, (ต้นไม้ชนิดหนึ่งใบคล้ายใบแก้วใช้ทำยาให้อาเจียน)
  47. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  48. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  49. ปุริสเมธ : (ปุ.) ปุริสเมธะ ชื่อมหายาคะ (การบูชาใหญ่ การบวงสรวงใหญ่ยัญใหญ่), มหายัญชื่อปุริสเมธะ.
  50. ปุเรจร : (วิ.) ผู้ไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. วิ. ปุเร จรตีติ ปุเรจโร. ปุรปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, อ, สตฺตมิยา อโลโป.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0761 sec)