Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 601-650
  1. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  2. อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติยอฑฺฒเตยฺยรูป ฯ ๓๙๕.โมค ฯสมาสกัณฑ์๑๐๕แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  3. อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย : (วิ.) ที่สามด้วยกึ่ง, สองกับครึ่ง, สองครึ่ง, สองกึ่ง. แปลง อฑฺฒ กับ ตติย เป็น อฑฺฒติย อฑฺฒเตยฺย รูป ฯ ๓๙๕. โมค ฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๕ แปลง ตติย เป็น ติย. เป็น ตติยาตัป.
  4. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  5. อปสพฺย อปสวฺย : (วิ.) ขวา, เบื้องขวา. ส. อปสพฺย.
  6. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  7. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  8. อามย : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย, โรค.วิ.อามยติรุชฺชตีติอามโย.อาปุพฺโพ, มยฺคติมฺหิ, อ. อาภุโส มิโนติอตฺตสมงฺคีนนฺติวาอามโย.อาปุพฺโพ, มิหึสายํ, โณ.อมฺวาโรเค, โย, ทีโฆ.ส. อามย.
  9. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  10. อาหวนีย : (ปุ.) อาหวนียะ ชื่อไฟอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง คือ อาหุเนยยยัคคิ ไฟที่ควรบูชา. วิ. อาหวนํ อรหตีติ อาหวนีโย ไฟอีก ๒ อย่าง คือ คหปตคฺคิ ทกฺขิเณยฺยคคิ.
  11. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  12. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  13. กตฺตริ กตฺตริย : (นปุ.) กรรไกร, ฯลฯ.
  14. กมฺพลีย : นป. ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง
  15. กยวิกฺย : ป. พ่อค้า
  16. กยวิกย กยวิกฺกย : (ปุ.) การซื้อและการขาย, การซื้อขาย, การเปลี่ยน, การแลกเปลี่ยน.
  17. กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
  18. กายปาคพฺภินิย : นป. ความคะนองกาย, ความไม่สุภาพ
  19. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  20. กาฬเมยฺย : ป. นกแซงแซว
  21. กาฬิย : (นปุ.) กระลำพัก วิ. กาฬวณฺณํ ชเน ตีติ กาฬิยํ. อิย ปัจ.
  22. กาฬิย, - ฬีย : นป. ดู กาลีย, กาฬานุสารี
  23. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  24. เกยฺย : ค. (สิ่ง) ที่ควรซื้อ
  25. โกฏิย : ป. พังพอน
  26. โกปเนยฺย : ค. เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ
  27. โกเลยฺย : (ปุ.) หมา?
  28. โกเสยฺยปาวาร : ป. ผ้าห่มซึ่งทอด้วยไหม, เสื้อคลุมไหม
  29. คงฺเคยฺย : (วิ.) เกิดในแม่น้ำคงคา, อยู่ในแม่น้ำ คงคา. วิ. คงฺคาย ชาโต คงฺเคยฺโย. คงฺคาย วสตีติ คงฺเคยฺโย. เณยฺย ปัจ. ราคาทิตัท. รูปฯ ๓๖๒.
  30. คพฺภาสย : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
  31. คมนนฺตราย : ป. อันตรายในการไปหรือการเดินทาง
  32. ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
  33. คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
  34. คิริย : ป. ชื่อนักแสดงละครพวกหนึ่ง
  35. คุณิฏฺฐ คุณิย : (วิ.) มีคุณที่สุด มีคุณกว่า. คุณวนฺตุ, คุณมนฺตุ+อิฏฐ, อิย ปัจ. ลบ วนฺตุ, มนฺตุ วิ. สพฺเพ อิเม คุณวนฺโต คุณมนฺโต วา, อยมิเมสํ วิเสเสน คุณวา คุณมา วาติ คุณิฏฺโฐ คุณิโย. รูปฯ๓๘๐.
  36. โคมย : (วิ.) อันโคทำแล้ว วิ. โคโต ปกโต โคมโย. อันเกิดแล้วแต่โค วิ. โคโต นิพฺพตฺโต โคมโย. มย ปัจ. ปกติตัท.
  37. จิตฺตาธิปเตยฺย : ค. มีธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต
  38. จินฺตามย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยความคิด
  39. จินฺเตยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงคิด, ที่ควรดำริ, ที่ควรไตร่ตรอง
  40. ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
  41. ฉาทนีย : ค. ควรปกปิด, ควรกำบัง, ควรห่อหุ้ม
  42. ชนปทตฺถาวริย : นป. ความถาวรหรือมั่นคงแห่งชนบท
  43. ชาคริย : (ปุ.)
  44. ชาเมยฺย : ป. ลูกของน้องสาวพี่สาว, หลาน
  45. ชิมฺเหยฺย : นป. ความคด, ความหลอกลวง, ความฉ้อโกง
  46. ชิวฺหามูลย : ป. ลิ้นไก่
  47. ชีวนฺตราย : (ปุ.) อันตรายของชีวิต, อันตราย แก่ชีวิต.
  48. เชยฺย : (วิ.) พึงชนะ วิ. เชตพฺพนฺติ เชยฺยํ. ชิ ธาตุ ณฺย ปัจ. วิการ อิ เป็น เอ ซ้อน ยุ.
  49. ฐานิย : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นฐานะ, ควรแก่ฐานะ, น่ารัก, น่าชม.
  50. ฐิติภาคิย : ค. ผู้มีส่วนแห่งความตั้งมั่น, ผู้มีหลักฐาน, ผู้มีความยั่งยืน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | [601-650] | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0666 sec)