Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 501-550
  1. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  2. อตฺถนา : (อิต.) การขอ, การร้องขอ, ความปรถนา, ฯลฯ.อตฺถ ยาจนอิจฺฉาสุ, ยุ. ส.อรฺถนา.
  3. อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
  4. อนฺโตชาต : (ปุ.) ทาสเกิดในภายในแห่งเรือน, ทาสเกิดในเรือน, ทาสในเรือน.วิ.อนฺโตเคเหทาสิยากุจฺฉิสฺมึชาโตอนฺโตชาโต.
  5. อนุจฺฉวิก : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งผิววิ.ฉวีอนุวตฺตตีติ อนุจฺฉวิกํ.สมควรแก่ผิววิ.ฉวิยาอนุรูปํอนุจฺฉวิกํ.ลบรูปแล้วกลับบทกสกัด.
  6. อนุยายติ : ก. ดู อนุยาติ
  7. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  8. อปรโคยา : (นปุ.) อปรโคยานะชื่อมหาทวีปที่๒ใน๔. เป็น อมรโคยานบ้าง.
  9. อพฺยาปชฺฌ : (นปุ.) อัพยาปัชฌะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน, ดูอวฺยาปชฺฌ.
  10. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  11. อภิถุตอภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น.วิ.โทสายรตฺติยาอารมฺโภอภิโทโส.อถวาอภิทุสฺสนฺติสพฺพกมฺมานีติอภิโทโส
  12. อภิถุต อภิตฺถุต : (ปุ.) ความเริ่มแห่งราตรี, ความเริ่มต้นแห่งราตรี, พลบ, พลบค่ำ, เวลาเย็น. วิ. โทสาย รตฺติยา อารมฺโภ อภิโทโส. อถวา อภิทุสฺสนฺติ สพฺพกมฺมานีติ อภิโทโส
  13. อเภสชฺช : ค. ไม่ใช่เภสัช, ไม่ใช่ยา
  14. อมฺพุพาหน : (นปุ.) ถัง, ครุชื่อภาชนะสานรูปกลม ๆ ยาชันสำหรับตักน้ำ.
  15. อมรโคยา : (นปุ.) อมรโคยานะชื่อของทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป.ทวีปทั้ง ๔ คือปุพพวิ-เทหะอมรโคยานะชมพูทีปะ และอุตตรกุรุ
  16. อยฺยกา, อยฺยกี : อิต. ย่า, ยา
  17. อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
  18. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  19. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  20. อวิส : ค. ไม่ใช่ยาพิษ, ไม่มียาพิษ, ไม่เป็นพิษ
  21. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  22. อสฺสเมธ : (ปุ.) อัสสเมธะชื่อมหายาคะอย่าง๑ใน๕อย่าง.วิ. อสฺสํเอตฺถเมธนฺตีติอสฺสเมโธ. อสฺสปุพฺโพ, เมธฺหึสายํ, อ.
  23. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  24. อาขฺยา : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
  25. อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  26. อาถพฺพณิก : ป., ค. หมอยาทางไสยศาสตร์, ผู้ชำนาญเวทมนต์คาถา
  27. อาทาน : (นปุ.) การถือ, การถือเอา, การฉวยเอาการคว้าเอา, การยึด, การยึดถือ, ความถือ, ฯลฯ.อาบทหน้าทาธาตุในความถือ ยึดถือยุปัจ.แปลว่าการขอก็มีอาทานํยาจนเมว.ส.อาทาน.
  28. อาทิกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น, ผู้ประกอบในกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ.อาทิกมฺเมนอาทิกมฺเม วานิยุตฺโตอาทิกมฺมิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  29. อาทีนว : (ปุ.) โทษอันยังทุกข์ให้เป็นไปโดยยิ่ง, โทษเครื่องถึงทุกข์, โทษ.วิ.อา ภุโสทีนํวายติคมยตีตฺยาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วิคมเน, อ.อาทีนํวาติอธิคจฺฉติเอเตนาติวาอาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วาอาทาเน, อ.หรือตั้งอาปุพฺโพ, ทีนฺทุคฺคตภาเว, โว. ส.อาทีนว.
  30. อาปนฺนสตฺตา : (อิต.) หญิงมีสัตว์อยู่ในครรภ์, หญิงมีครรภ์.วิ.อาปนฺโนคพฺภฏฺโฐสตฺโตเอตายาติอาปนฺนสตฺตา.อาปนฺนตั้งอยู่แล้วดำรงอยู่แล้ว.
  31. อาปาณโกฏิก : (นปุ.) อันถึงซึ่งที่สุดแห่งชีวิต, การถึงซึ่งที่สุดแห่งชีวิต.วิ.อาปาณสฺสโกฏิยาคมนํอาปาณโกฏิกํ.กปัจ.รูปฯ ๓๒๑.
  32. อาปายิก : (ปุ.) ผู้เกิดในอบาย, วิ.อปาเยชาโตอาปายิโก.ผู้ไปในอบายวิ. อปาเยคจฺฉตีติอาปายิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  33. อาภรณ : (นปุ.) อลังการเครื่องยังอวัยะให้เต็มทั่ว, เครื่องประดับ, เครื่องแต่ง, เครื่องตกแต่ง, เครื่องแต่งกาย, เครื่องอาภรณ์.วิ.อาภริยเตตนฺตฺยาภรณํ.อาปุพฺโพ, ภรฺธารเณ, ยุ.ส. อาภรณ.
  34. อาภิธมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยพระอภิธรรม.วิ.อภิธมฺเมนนิยุตฺโตอาภิธมฺมิโก (ปิฏโกคมฺภึโร). ผู้เรียนพระอภิธรรมวิ. อภิธมฺมํอธิเต-ติอาภิธมฺมิโก.ผู้สวดพระอภิธรรมณิก ปัจตรัต๎ยาทิตัท.
  35. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  36. อายาจน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การขอร้อง, การวิงวอน, การอ้อนวอน, คำเชื้อเชิญ, ฯลฯ.อาปุพฺโพ, ยาจฺยาจนายํ, ยุ.
  37. อายุทพฺพ : นป. ยา, เภสัช
  38. อายุรเวชฺช : (ปุ.) หมอผู้รักษาชีวิตวิ.อายุโรเวชฺโชอายุรเวชฺโช.หมอผู้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชีวิตวิ.อายุสฺโสเวชฺโชอายุร-เวชฺโช.ลบสฺสังโยคแปลงสเป็นรตามวิธีของสันสกฤต, อายุรแพทย์(หมอผู้รักษาชีวิตของคนไข้ด้วยการใช้ยา ). ส. อายุ-รไวทฺย.
  39. อารญฺญิก : (วิ.) แปลและตั้งวิ. เหมือนอารญฺญกณิก ปัจ.ตรัท๎ยาทิตัท.รูปฯ ๓๖๐.
  40. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  41. อาฬฺหก : (ปุ.) เสาตะลุง วิ. อาหนนฺติ พนฺธนฺตฺ- ยสฺมึ อเนน วา อาฬฺหโก. อาปุพฺโพ หนฺ พนฺธเน,ณฺวุ, นสฺส โฬ,วณฺณปริยาโย. ส. อาฒก.
  42. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  43. อิตฺถีตุช : (ปุ.) ภาวะอันเกิดในเพราะฤดูของ หญิง วิ. อิตฺถิยา อุตุมฺหิ ชาเต ชายตีติ อิตฺถีตุโช.
  44. อิทฺธามย : (วิ.) เกิดแล้วด้วยฤทธิ์, เกิดแล้วแต่ ฤทธิ์, สำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์, สำเร็จแล้วแต่ ฤทธิ์. วิ. อิทฺธิยา นิพฺพตฺตํ นิปฺผนฺนํ วา อิทฺธิมยํ. มย ปัจ. ปกติตัท.
  45. อิพฺภ : (วิ.) มีสมบัติ, มั่งคั่ง, ร่ำรวย. วิ. อิภ มรหตีติ อิพฺโภ. โว, วณฺณปริยาโย. อถวา, อิติ กามยติ ธนนฺติ อิพฺโภ. อิ กาเม, โภ, พฺสํโยโค.
  46. อิริยา : (อิต.) ความเป็นไป, ฯลฯ. ความเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. อิริยฺ ธาตุ อ ปัจ. ส. อีรฺยา.
  47. อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
  48. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  49. อุทาหรณ : (นปุ.) การอ้างอิง, การยกขึ้นให้ เห็น, การยกขึ้นมา, การนำขึ้นมา, ตัวอย่าง. วิ. อุทาหรียเต ปกตสฺโสปปาทนายาติ อุทาหรณํ. อุ อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ, ทฺอาคโม. ส. อุทาหรณ.
  50. อุปโยควจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกประกอบ, การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกทำ, ทุติยาวิภัติ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0707 sec)