Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 801-850
  1. อุปเมยฺย : ค. อุปไมย, สิ่งที่เขาพึงเปรียบเทียบได้
  2. อุปสงฺเขยฺย : ค. อันควรนับได้, ควรตระเตรียม
  3. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  4. เอกสย : ป. ม้า
  5. เอกากิย : ค. โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว
  6. โอจิตฺย : นป. ความเหมาะสม, ความสมควร
  7. โอธานีย : นป. ที่สำหรับวางของ, ที่ใส่ของ
  8. โอรมฺภาคิย : (วิ.) อันเป็นไปในส่วนเบื้องต่ำ.
  9. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  10. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  11. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  12. โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  13. ขตฺติย : (ปุ.) พระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าอยู่หัว, กษัตริย์ เป็นชาตินักรบ เป็นวรรณที่ ๑ ในวรรณ ๔, เจ้านาย. วิ. ขตฺตสฺส อปจฺจํ ขตฺติโย. ณิก ปัจ. แปลง ก เป็น ย รูปฯ ๓๕๓.
  14. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  15. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  16. คยฺห : (วิ.) อัน...ย่อมติเตียน, อัน...พึงติเตียน, พึงติเตียน. ครหฺ นินฺทายํ, ณฺย, ธาตฺวนฺเตน สห ยฺหาเทโส (แปลง ย พร้อมกับที่สุด ธาตุเป็น ยฺห).
  17. คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
  18. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
  19. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  20. ฆายน : (นปุ.) การดม, การสูดดม, การสูดกลิ่น, การจูบ. ฆา ธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ ยุ ปัจ.
  21. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  22. ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
  23. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  24. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  25. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  26. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  27. ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
  28. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  29. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  30. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  31. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  32. ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  33. ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
  34. ทาตฺยูห : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. ทาติ อูหติ อุสฺสหตีติ ทาตฺยูโห. ขณฺฑิตทฺธนิอิจฺจตฺโถ. ฎีกาอภิฯ คาถาที่ ๖๔๔. แปลง อิ ที่ ติ เป็น ย รัสสะ อู เป็น อุ เป็นทาตฺยุห บ้าง.
  35. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  36. ทุสฺสีลฺย ทุสฺสีลย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ศัพท์หลังไม่ลบ อ ที่สุดศัพท์ หรือลง ย ปัจ.?
  37. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  38. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  39. ธญฺญ : (วิ.) มีบุญ, มีสิริ, ดี, เจริญ, มั่งมี, รุ่งเรือง, ร่าเริง, สำราญ, เลิศ. ธนฺ ธญุเญ, โย, นฺยสฺส โย. ทฺวิตฺตํ. รูปฯ ๓๙๓ ณฺย ปัจ. ๖๔๔ ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๐ วิ. ธนาย สํวลฺลตีติ ธญฺญํ (เป็นไปเพื่อ ทรัพย์).
  40. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  41. โธรยฺห : (วิ.) ควรเพื่ออันนำไปซึ่งธุระ วิ, ธุรํ วหิตุ มรหตีติ โธโยฺห. ณ ปัจ, ราคาทิตัท.แปลง ว เป็น ย หรือลง ยฺห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒ ลง ยฺหณฺ ปัจ. ผู้นำไปซึ่ง ธุระ วิ. ธุรํ วหตีติ โธรโยห.
  42. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  43. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  44. นชฺโช : (อิต.) แม่น้ำ ท. นทีศัพท์ โยวิภัติ แปลง อี เป็น ย รวมเป็น นทฺย แปลง ทฺย เป็น ช แปลง ช เป็น ชฺช หรือแปลง ทฺย เป็น ช ซ้อน ชฺ หรือแปลง ทฺย เป็น ชฺช แปลงโยเป็น โอ เป็นการต่อศัพท์กับวิภัติ รูปฯ ๑๘๘.
  45. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  46. นมม : (นปุ.) ความสุข. นมมํ + ย ปัจ.
  47. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  48. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  49. นิช : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. โส เอว นิโช. แปลง ย เป็น ช สมีเป ชายตีติ วา นิโช. อภิฯ. ผู้เกิดแต่ตน (ลูก). รูปฯ ส. นิช.
  50. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0631 sec)