Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 951-1000
  1. จมฺมการ : (ปุ.) ช่างฟอกหนัง, คนทำหนัง, ช่างหนัง, ช่างเย็บรองเท้า. วิ. จมฺมํ กโรติ วิการํ อาปาทยตีติ จมฺมกาโร. ณ ปัจ.
  2. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  3. เจติ เจติย : (ปุ.) เจดี เจติยะ เจดีย์ ชื่อชนบท.
  4. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  5. ชปฺปา : (อิต.) ความปรารถนา, ความเหนี่ยรั้ง.
  6. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  7. ตนฺต : (วิ.) สูงสุด (มุขฺย). ตนุ วิตฺถาเร, โต.
  8. ตนุกต : (วิ.) ถาก, ทำให้บาง, วิ. ตนุ กรียเตติ ตนุกโต.
  9. ติทสาลย : (ปุ.) ติทสาลยะ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, วิ, ติทสานํ เทวานํ อาลโย ฐานํ ติทสาลโย.
  10. ติยงฺส : (ปุ.) ส่วนสาม, สามเหลี่ยม. ติ+ อํส ยฺ อาคม.
  11. ติโลก : (ปุ.) โลกสาม, ไตรดลก. ส. ตฺรโลกฺย.
  12. เตมิย : (ปุ.) พระเตมิยะ พระเตมีย์ พระนาม ของพระโพธิสัตว์ คือ อดีตชาติของพระ สมณโคดม เป็นชาติที่ ๑ ในทศชาติ.
  13. โตเทยฺย : ป. พราหมณ์ชื่อโตเทยยะ
  14. ทกฺขิเณยฺย : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันรับซึ่งทักษิณา วิ. ทกฺขิณํ ปฏิคฺคหิตุ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย. ผู้ควรซึ่งทักษิณา วิ. ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย. ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ วา ทกฺขิเณยฺโย. เณยฺยปัจ. บาลีไวยากรณ์ ลง เอยฺย ปัจ.
  15. ทมยันฺตี : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. ชายา ศัพท์ อนฺต สกัด ยฺ อาคม อี อิต. แปลงชายาเป็น ทํ แปลงนิคคหิต เป็น ม.
  16. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  17. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  18. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  19. ทุกฺกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยยาก วิ . ทุกฺเขน กรียตีติ ทุกฺกรํ. อัน...พึงทำได้โดยยาก วิ. ทุกฺเขน กริตพฺพนติ ทุกฺกรํ. ทุกฺขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ข ปจฺจโย. ลบ ข ซ้อน กฺ.
  20. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  21. ทุพฺพจ : (วิ.) อัน...ว่าได้โดยยาก, ว่ายาก, สอนยาก. วิ. ทุกเขน วจียเตติ ทุพพโจ.
  22. เทยฺย : (วิ.) อัน...พึงให้, อัน...ควรให้, พึงให้, ควรให้. วิ. ทาตพฺพนติ เทยฺยํ. อัน...ได้ให้ แล้ว. อัน...ย่อมให้, อัน...จักให้ง วิ. อทียิตฺถ ทียติ ทิยิสฺสตี วาติ เทยฺยํ. ทา ทาเน, ณฺย. แปลง ณฺย กับ อา ที ทา เป็น เอยฺย. รูปฯ ๕๔๐.
  23. เทว : (ปุ.) เทวะ ชื่อของเทพทั้ง ๓ คือ อุปัตติ เทพ วิสุทธิเทพ และ สมมุติเทพ, เทพ, เทพเจ้า, เทพยะ, เทพยดา, เทพบุตร, เทวดา. วิ. ทิพฺพนติ ปญฺจกามคุณาทีหิ กีฬนฺตีติเทวา. ทิวุ กีฬายํ, โณ. วิ. นี้เฉพาะ อุปัตติเทพ และสมมุติเทพ. เทวะที่หมาย ถึงวิสุทธิเทพ มี วิ. ว่า โลกุตฺตรธมฺเม โลกุตฺตรธมฺเมหิ วา ทิพฺพนฺติ เทโว (ผู้บรรลุโลกุตตรธรรม หรือผู้รุ่งเรืองด้วย โลกุตตรธรรม). ทิวุ คติยํ ชุติยํ วา, โณ.
  24. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  25. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  26. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  27. ธมฺมายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์, ที่เป็นที่ต่อแห่งอารมณ์ที่เกิดกับใจ, แดนแห่งธรรมารมณ์, แดนคือธรรมารมณ์, อายตนะคืออารมณ์ที่เกิดกับใจ, ธรรมา-ยตนะ คือเรื่องที่ใจรู้ อารมณ์ที่ใจรู้.
  28. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  29. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  30. นาม : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  31. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  32. ปญฺจวคฺคิย : ค. มีพวกห้า หมายถึงภิกษุห้ารูปเหล่านี้คือ อัญญาโกณฑัญญะ, วัปปะ, ภัททิยะ, มหานามะ, อัสสชิ
  33. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  34. ปริกฺขก : (วิ.) ผู้พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็ว, ผู้ พิจารณาเหตุผลได้รวดเร็วทันที, ผู้รู้เหตุ รวดเร็ว วิ. ปริกฺขเต อวธารยเต ปมาเณหิ อตฺถ มิติ ปริกฺขโก, ณฺวุ ปัจ. อภิฯ
  35. ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  36. ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  37. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  38. ปาจิตฺติย : นป. ข้อห้ามทางพระวินัยชนิดหนึ่งชื่อ ปาจิตติยะ ซึ่งเมื่อต้องแล้วย่อมบริสุทธิ์ด้วยการแสดง
  39. ปูชิย : ค. ดู ปูชเนยฺย
  40. ปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ. ปูเรตีติ ปูโป, ปูรฺ ปูรเณ, โป, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. ปวียติ มริจชีรกาทีหิ ปวิตฺตํ กรียตีติ ปูโป วา. ปุ ปวเน, โป, ทีโฆ.
  41. เปยฺย : (วิ.) อัน...พึงดื่ม, อัน...ควรดื่ม. วิ. ปาตพฺพํ ปิวิตพฺพํ วาติ เปยฺยํ. อัน..ได้ดื่มแล้ว, อัน...ดื่มอยู่, อัน...จักดื่ม. วิ. อปียตฺถ ปียติ ปียิสฺสตีติ เปยฺยํ. ปา ปาเน, โณฺยฺ แปลง อา กับ ณฺย ปัจ. เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  42. โปกฺขร : (ปุ.) ช่องพิณ, รางพิณ. วิ. โปเสติ วฑฺเฒติ สทฺเทติ โปกฺขโร. ปุสฺ โปสเน วุฑฺฒิยํ วา, ขโร, อุสฺโส, สสฺสโก. กฏฐาทีหิ โทณิสณฺฐาเนน กตํ วชฺชภณฺฑํ วีณาย โปกฺขโร นาม. เป็น นปุ. บ้าง.
  43. พฺยาวจฺจ : (นปุ.) ความขวน ขวาย, ความกระตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วจฺจ อชฺฌายเน, อ.
  44. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  45. เภก : (ปุ.) กบ วิ. สปฺปโต ภา-ยตีติ เภโก. ภี ภเย, อิโก, อิสฺส เอ. อถวา, ภายนฺติ เอตสฺมาติ เภโก. ภี ภเย, โก.
  46. โภชน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, สิ่งอัน...พึงกิน, การกิน, การฉัน, ของกิน, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, อาหาร. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชนํ. ภุญฺชิ-ยตีติ วา โภชนํ. ภุญฺชนํ วา โภชนํ. ยุ ปัจ.
  47. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  48. มลย : (ปุ.) มลยะ ชื่อภูเขาอยู่ทางอินเดียตอนใต้ อุดมด้วยไม้จันทน์, ภูเขาไม้จันทน์, อาราม, อารามดอกไม้ เป็นต้น, สวนดอกไม้, ไม้จันทน์. มลฺ ธารเณ, โย.
  49. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  50. ยชุ : (นปุ.) ยชุ คือคัมภีร์ไตรเพทของพราหมณ์ คัมภีร์ที่ ๒ วิ. ยชนฺเต อเนเนติ ยชฺ. ยชฺ เทวปูชายํ, อุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0634 sec)