Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 401-450
  1. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  2. โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
  3. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  5. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  6. เผณิก เผณิล เผนิล : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ลูกกลมๆ ดำๆ ขนาดลูกพุทราให้ทำยา. เผณ+อิล ปัจ. ศัพท์ต้นแปลง ล เป็น ก. ศัพท์ที่สาม แปลง ณิ เป็น นิ.
  7. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  8. พฺยา : (ปุ.) วา (๔ ศอก หรือ ๒ เมตร) วิ. วฺยามียเต อเนเนติ วฺยาโม พฺยาโม วา. วิปุพฺโพ, ยามฺ อญฺเช, อ.
  9. พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  10. พาหา : (อิต.) แขน วิ. วหติ เอตายาติ พาหา. วหฺ ปาปุณเน, โณ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  11. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  12. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  13. พุทฺธิก : (วิ.) ผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า วิ. พุทฺเธ ปสนฺโน พุทฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  14. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  15. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  16. ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
  17. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  18. ภิสกฺก : ป. แพทย์, หมอยา
  19. เภสชฺชกปาล : นป. หม้อยา, ขันยา
  20. เภสชฺชกมฺม เภสชฺชยุญฺชน : (นปุ.) การปรุงยา.
  21. เภสชฺชกร : (ปุ.) บุคคลผู้ปรุงยา, แพทย์ผู้ปรุงยา, เภสัชกร.
  22. เภสชฺชมูล : (นปุ.) เครื่องยา.
  23. เภสชฺชาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายยา, ร้านยา.
  24. เภสช เภสชฺช : (นปุ.) ยา, ยาแก้โรค, เครื่องยา, เภสัช. วิ. ภิสชานํ อิทํ เภสชํ เภสชฺชํ. วา. ณ, ณฺย ปัจ. อภิฯ, ภิสชสฺส ภาโว กมฺวํ วา เภสชฺชํ ณฺย ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ส. ไภษชฺย เภษช.
  25. เภสช, เภสชฺช : นป. ยาแก้โรค
  26. มญฺชูสา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง, หีบ. วิ. มญฺญติ สธนตฺตํ เอตายาติ มญฺชูสา. มนฺ ญาเน, โส, ชู มชฺเฌ, อิตฺถิยํ อา. เป็น มญฺชุสา ก็มี.
  27. มโนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยใจ, มโนมัย. วิ. มนโต นิปฺผนฺนา มโนมยา (ธมฺมา). มย ปัจ. ปกติตัท.
  28. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  29. มหสาย : (ปุ.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, อัธยาสัยใหญ่, คนใจกว้าง.
  30. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  31. มหาภิสก มหาภิสกฺก มหาภิสช : (ปุ.) แพทย์, อายุรเวช, หมอ, หมอยา.
  32. มหามาตุ : (อิต.) แม่ใหญ่, แม่แก่, ย่า, ยาย.
  33. มหาวิกฏ มหาวิกต : (นปุ.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
  34. มหาวิกติ : (อิต.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
  35. มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
  36. มโหสถ มโหสธ : (นปุ.) ยาใหญ่, ยาประเสรฐ.
  37. มากฺกว : (ปุ.) ตองแตก ชื่อไม้เถาใบเป็นแฉกใช้ทำยา. มุจ โมจเน, อโว, อุสฺสา, จสฺส โก, ทฺวิตฺตญฺจ.
  38. มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
  39. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  40. มาตุจฺฉา : (อิต.) ป้า, น้า (พี่น้องหญิงของแม่). วิ. มาตุยา ภคินี มาตุจฺฉา. จฺฉ ปัจ. อา อิต.
  41. มาตุภคินี : (อิต.) ป้า, น้า (พี่น้องหญิงของแม่). วิ. มาตุยา ภคินี มาตุภคินี.
  42. มาตุล : (ปุ.) ลุง, น้า (พี่ชาย น้องชายของแม่). วิ. มาตุยา ภาตา มาตุโล. อุล ปัจ.
  43. มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
  44. เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมว เมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
  45. ยาวชีวิก : (นปุ.) ของเป็นยาวชีวิก คือ ของจำพวกยา ภิกษุรับประเคนได้ทุกเวลา และฉันได้ตลอดไปตามอายุของยา.
  46. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  47. รช : (ปุ.) ระดูของหญิง, ประจำเดือนของหญิง, ระดู, ประจำเดือน. วิ. รติยา ชายตีติ รโช รติปุพฺโพ, ชนฺ, ปาตุภาเว, โร. ลบ ติ และ นฺ.
  48. รสญฺชน : นป. ยาล้างตาชนิดหนึ่ง
  49. วิเรก : ป. ทำให้สะอาด; ยาถ่าย
  50. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0593 sec)