Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 101-150
  1. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  2. จมฺมสาฏก : ค., ป. (ปริพาชก) ผู้มีผ้าสาฏกทำด้วยหนัง, ผู้นุ่งห่มผ้าหนัง; ชื่อของปริพาชกคนหนึ่ง
  3. ตมฺพจูฬ : (ปุ.) ไก่ (สัตว์มีหงอนแดง). วิ. ตมฺพา จูฬา ยสฺส โส ตมฺพจูโฬ.
  4. ทสฺสน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การแลดู, การเฝ้า (ราชาศัพท์), ความเห็น, ฯลฯ. วิ. ทสฺสียเตติ ทสฺสนํ. ทิส. เปกฺขเณ. ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส. และยังแปลว่า โสตาปัตติ-มรรคด้วย อุ. ทสฺสเนน ปาหตพฺพา ธมฺมา. ธรรมท. อันพระโสดาปัตติมรรคพึงประหาณ. ส. ทรฺศน.
  5. ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
  6. ทุพฺพปุปฺผ : (นปุ.) ดอกแห่งหญ้าพรก, ดอก หญ้าแพรก. ทุพฺพา+ปุปฺผ รัสสะ.
  7. นินฺนีต : ค. ถูกนำลงไป, ถูกนำไป, ถูกพาไป, แห้งแล้ง, หมดจด
  8. นินฺเนติ : ก. นำไป, พาไป; แห้งแล้ง, หมดจด; ทำให้เหือดแห้ง
  9. ปุพฺพภทฺทปทา : (อิต.) บุรพภัทรบท ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๕ ใน ๒๗ กลุ่ม, ดาวหัวเนื้อทราย, ดาวราชสีห์ตัวผู้, ดาวเพดาน, ดาวโปฐบท ก็เรียก. วิ. ปุพฺพา จ สาภทฺทปทา เจติ ปุพฺพภทฺทปทา.
  10. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  11. พาหุมูล : (นปุ.) รักแร้. วิ. พาหูนํ ภุชานํ มูลํ พาหุมูลํ.
  12. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  13. มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
  14. ยานิก, - นิย : ค. ซึ่งนำไป, ซึ่งพาไป
  15. สพฺพีติ : (อิต.) จัญไรทั้งปวง, เสนียดทั้งปวง, เสนียดจัญไรทั้งปวง, ฯลฯ. วิ. สพฺพา อีติ สพฺพีติ.
  16. สุณิสา : (อิต.) หญิงสะใภ้, ลูกสะใภ้. วิ. สุณาตีติ สุณิสา (ผู้ฟังคำของผู้ใหญ่). สุ สวเน, ณีโส. สสุเรหิ สุณิตพฺพาติ สุณิสา (ผู้อันแม่ผัวและพ่อผัวพึงเบียดเบียน). สุณฺ หึสายํ, อิโส. ทฺวินฺนํ ชนานํ กุลํ สุณาตีติ สุณิสา (ผู้สืบตระกูลของชนทั้งสองฝ่าย). สุณฺ กุลสนฺ ตาเน.
  17. อพฺพูฬฺหน : นป. ดู อพฺพาหน
  18. อภิเนติ : ก. นำไปใกล้, พาไป
  19. อภิสฺสวติ : ก. ไหลไป, พาไป, นำไป
  20. อาทา, อาทาย : กิต. ถือเอาแล้ว, พาเอาแล้ว
  21. อาทินฺน : กิต. ถูกถือเอาแล้ว, ถูกพาไปแล้ว
  22. อานยติ : ก. นำมา, ไปพามา
  23. อาเนติ : ก. นำมา, พามา, ถือมา
  24. อาภรติ : ก. นำมา, พามา
  25. อาวห, - ก : ค. นำมา, พามาแต่งงาน, พามา
  26. อาวหติ : ก. นำมา, พามาแต่งงาน, พามาอาวาหมงคล
  27. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  28. อาหฏ : กิต. นำมาแล้ว, พามาแล้ว, ถือมาแล้ว
  29. อุนฺนีตก : ค. ถูกนำไป, ถูกพาไป
  30. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  31. เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  32. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  33. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  34. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  35. ทสพล : (ปุ.) พระทสพล พระนามของพระ พุทธเจ้าทั้งปวง อภิฯ วิ. ทานสีลขนฺตฺ- ยาทโย ฐานาฐานญฺญทาโย วา ทส พลานิ อสฺเสติ ทสพโล. รูปฯ ๓๓๗ วิ. ทส พลานิ อสฺสาติ ทสพโล (มีกำลังสิบ). ฉ พหุพ.
  36. พิลงฺค : (ปุ.) น้ำผักดอง, น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม (เครื่องกินกับข้าวของแขก), น้ำพริก. วิ. วาตํ ลงฺคติ หีนํ กโรตีติ พิลงฺโค. วาตปุพฺโพ, ลคิ คมเน, อ, วาตสฺส พิ. วิเสเสน ลงฺ-คตีติ วา พิลงฺโค.
  37. เอกโยชนทฺวิโยชน : (นปุ.) โยชน์หนึ่งหรือ โยชน์สอง, หนึ่งโยชน์หรือสองโยชน์. วิ. เอกโยชนํ วา ทฺวิโยชนํ วา เอกโยชนทฺวิ โยชนานิ. ปฐมาพหุพ. หรือ วิกัปปสมาส รูปฯ ๓๔๑.
  38. พทรฏฺฐิ : นป. เม็ดพุทรา
  39. พทรปณฺฑุ : นป. ผลพุทรา (สด) มีสีเหลืองอ่อน
  40. พทรมิสฺส : ค. ผสมด้วยผลพุทรา
  41. พทรยูส : ป. น้ำคั้นผลพุทรา
  42. พทรา : อิต. ฝ้าย, พุทรา
  43. พทรา พทรี : (อิต.) ฝ้าย, พุทรา, ต้นพุทรา, กระเบา. พทฺ เถริเย, อโร. อา อี อิต.
  44. พทรี : อิต. ต้นพุทรา, กะเบา
  45. พทาลตา : อิต. เครือดิน (ไม้เถาชนิดหนึ่งมีสัณฐานคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย)
  46. พยาปน : (นปุ.) ความซ่านไป, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  47. พยาปาร : (ปุ.) ความขวนขวาย. วิ อา ปุพฺโพ, ปรฺ คติยํ, โณ.
  48. พหินกฺขมน : นป. การออกไปภายนอก
  49. พหินคร : นป. นอกเมือง
  50. วากกรณ : นป. การสนทนา
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.1102 sec)