Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 1051-1100
  1. อุปยาน : (นปุ.) บรรณาการ, เครื่องบรรณาการ, ของที่ส่งไปให้ วิ. อุปยนฺติ เอเตน อิสฺสรสฺส วา ปิยมาปสฺส สนฺติกํ คจฺตีติ อุปยานํ. อุปปุพฺโพ, ยา คติยํ. ยุ.
  2. อุปริม : (วิ.) มีในเบื้องบน, เกิดในเบื้องบน. วิ. อุปริ ภโว ชาโต วา อุปริโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  3. อุปล อุปฺปล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, บัวเผื่อน, อุบล (บัวขาบ บัวสาย). วิ. อุทกํ ปิวตีติ อุปลํ อุปฺปลํ วา. อุทกปุพฺโพ, ปา ปาเน, โล. ทกโลโป. แปลว่า หัวใจ ก็ได้. ส. อุตฺปล.
  4. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  5. อุปายน : (นปุ.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของ ฝาก, บรรณาการ. วิ. อุเปยฺยเตติ อุปายนํ. อาปายิตพฺพนฺติ วา อุปายนํ. อุปปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ยุ. ส. อุปายน.
  6. อุปาหน : (ปุ. นปุ.) เกือก, รองเท้า. วิ. ตํ ตํ ฐานํ  อุปหนฺติ เอเตนาติ อุปาหโน. ตโต ตโต จ อุปหนฺติ เอเตนาติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อุปนยฺหเตติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อ. ทีฆะและเปลี่ยนอักษร.
  7. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  8. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  9. อุสฺสุร อุสฺสูร : (ปุ.) กาลมีพระอาทิตย์ในเบื้อง บน, กาลสาย, เวลาสาย. วิ. อุปริ ภโว สุโร สูโร วา ยสฺมึ โส อุสฺสุโร อุสฺสูโร วา.
  10. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  11. เอกนฺต : (วิ.) ยิ่ง, ล้ำ, นักหนา, หนักหนา, ข้างเดียว, ส่วนเดียว. วิ. เอติ คจฺฉตีติ เอโก. อิ คมเน, ณฺวุ, เอโก เอว เอกนฺตํ. สกตฺเถ นฺตปจฺจโย. เอกํ ตรตีติ วา เอกนฺตํ. เอก ปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม, รฺโลโป.
  12. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  13. เอชา : (อิต.) เอชา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, เอชา วุจฺจติ ตณฺหา. ความปรารถนาจัด, ความอยากได้จัด, ความปรารถนา. ความอยากได้, ความแสวงหา, ความหวั่นไหว. วิ เอชตีติ เอชา. เอชฺ กมฺปเน, อ. เอชนํ วา เอชา.
  14. เอวรูป เอวรูป : (วิ.) มีอย่างนี้เป็นรูป, มีรูป อย่างนี้, มีรูปเช่นนี้, มีรูปเห็นปานนี้. วิ. เอวํ รูปํ ยสฺส โส เอวรูโป เอวํรูโป วา. ศัพท์ต้น ลบนิคคหิต.
  15. เอสิกา : (อิต.) เสาระเนียด, เสาเขื่อน. อิสุ อิจฺฉายํ. เอสฺ คเวสเน. วา. อิโก.
  16. โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
  17. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  18. โอทนิก : (ปุ. อิต.) พ่อครัว, แม่ครัว. วิ. โอทนํ ปจตีติ โอทนิโก โอทนิกา วา. ณิก ปัจ.
  19. โอปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ประกอบในอุบาย. วิ. อุปาเยน อุปาเย วา นิยุตฺโตติ โอปายิโก. ชอบด้วยอุบาย วิ. อุปาเยน อนุจฺฉวิโกติ โอปายิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  20. โอโภค : (ปุ.) ขนด, การม้วน, การคด, การโค้ง, ความคด, ความโค้ง, โอปุพฺโพ, ภุชฺ โกฏิลฺเล, อ, โณ วา.
  21. โอรส : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย. วิ. อุรสา มนสา นิมฺมิโต โอรโส. อุรสิ ภโว ชาโต วา โอรโส. สญฺชาโตสยํ ชินโต สุโต โอรโส นาม. อุรศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. สฺ อาคม. ส. เอารส อุรสฺย.
  22. โอลุมฺปิก โอฬุมฺปิก : (วิ.) ผู้ข้ามด้วยแพ. วิ. อุลุมฺเปน ตรตีติ โอลุมฺปิโก โอฬุมฺปิโก วา. ณิก ปัจ.
  23. โอสถ โอสธ : (นปุ.) ยา, เครื่องยา, ตัวยา, ตัวยาต่าง ๆ, ยารักษาโรค, ยาแก้โรค. วิ. โรคํ โอสาสาเปตีติ โอสถํ โอสธํ วา. อุสฺ ทาเห, โถ, โธวา. ส. เอา สธ.
  24. โกกนท โกกนุท : (นปุ.)บัวแดง,โกกนุท.วิ.โกเก นาทยตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.โกกปุพฺโพ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ.อภิฯ ลง ณ ปัจ. เก กนตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โท, อสฺโส. ส. โกกนท.
  25. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  26. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  27. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  28. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  29. อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
  30. อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
  31. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  32. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  33. กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
  34. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  35. กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี : (อิต.) ข่า วิ. กฏุก รสา หุตฺวา รุหตีติ กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี วา, กฏุกปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
  36. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  37. กติวาร : (ปุ.) วาระเท่าไร (กีวาระ) วิ. กติโก วาโร กติวาโร.
  38. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  39. กทฺทม : (ปุ.) ตม, เปือกตม (เลนที่ละเอียด), เลน, โคลน, สีตม. กทฺ มทฺเท, อโม, ทฺวิตฺตํ. กทฺทฺ กุจฺฉิตสทฺเท วา, อโม. ส.กรฺท, กรฺทม.
  40. กทร กทฺทร : (ปุ.) พยอมขาว, กฤษณา. วิ. อีสํ ขุทฺทกํ ทล เมตสฺสาติ กทโร. ลสฺส โร (แปลง ล เป็น ร).
  41. กทลี : (อิต.) ธง วิ. เกน วาเตน ทลียเตติ กทลี. กปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, อ, อิตฺถิยํ อี. ส. กทลี.
  42. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  43. กโปต : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโต. กมฺปฺ. จลเน วา, มฺโลโป. ส. กโปต.
  44. กพฺย : (นปุ.) ความมีในกวี, ความเป็นกวี. วิ. กวิมฺหิ ภวํ กพฺยํ. กวิ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ ลบ ณฺ เป็น วฺย แปลง วฺ เป็น พฺ รูปฯ ๓๖๓, เรื่องของกวี วิ. กวิโน อิทํ กพฺยํ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  45. กย : (ปุ.) การซื้อ วิ. ก ยนํ กโย. กี ทพฺพวินิมเย, อ. กโย นาม ปรสฺส ธนํ คเหตฺวา อตฺตโน ธนสฺส ทานํ. การถือเอาสมบัติของคนอื่นแล้วให้ซึ่งทรัพย์ของตน ชื่อว่า การซื้อ.
  46. กรช : (วิ.) เกิดในน้ำ, เกิดในกาย. วิ. กเร ชายตีติ กรโช. กรปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. เกิดจากกระ คือน้ำสัมภวะของมารดาและ บิดา วิ. กรา สมฺภวา ชาโต กรโช.
  47. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  48. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  49. กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
  50. กรวิก กรวีก : (ปุ.) นกกรวิก, นกการวิก, นกการะเวก. วิ. กลํ รวตีติ กรวิโก. กลปุพฺโพ, รุ สทฺเท, ณิโก, อิโก วา, ลโลโป.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.1175 sec)