Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 1251-1300
  1. ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
  2. ธมฺมภูต : (วิ.) ผู้เป็นเพียงดังเหตุ วิ. ธมฺโม อิว ภูโตติ ธมฺมภูโต. ธมฺโม อิว ภูโต อยนฺติ ธมฺมภูโต, ปฐมาอุปมาบุพ. พหุพ.
  3. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  4. ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่วแน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
  5. ธูตวาท : (ปุ.) วาทะจัดจ้าน.
  6. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  7. นตฺถิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า อ. ทานอันบุคคลให้แล้วชื่อว่าไม่มีผล, วาทะว่าทานอันบุคคล ให้แล้วไม่มีผล.
  8. นทิก : (วิ.) มีแม่น้ำ, นทีศัพท์ ก ปัจ. ลงใน พหุพ. รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๓๔๑.
  9. นทิมาติก นทีมาติก : (ไตรลิงค์) ที่อาศัยน้ำ มาแต่แม่น้ำ. วิ. นที มาตา อสฺสาติ นทีมาติโก. ก ปัจ. ลงในพหุพ.
  10. นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
  11. นมสฺสการ : (ปุ.) การทำซึ่งการนอบน้อม, ฯลฯ, นมัสการ. คำนมัสการใช้ในความหมาย ว่า ไหว้ เป็นส่วนมาก. ส. นมสฺการ.
  12. นมุจิ : (ปุ.) นมุจิ ชื่อมารชื่อ ๑ ใน ๘ ชื่อ, มาร. วิ. อกุสลธมฺเม น. มุญฺจตีติ นมุจิ (ไม่ละ อกุศลธรรม). นปุพฺโพ, มุจ โมจเน, อิ. ส. นมุจิ ว่า กามเทพ.
  13. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  14. นานาวาส : ค. มีวาทะต่างๆ กัน; มีความคิดไม่เหมือนกัน
  15. นาฬิก : (ปุ.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  16. นาฬิกา : (อิต.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  17. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  18. นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
  19. นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
  20. นิคท : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, โวหาร (คำ พูด). นิปุพฺโพ, คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ. ส. นิคท.
  21. นิจุล : (ปุ.) ต้นจิก วิ. อตฺถิเกหิ นิจียตีติ นิจุโล. นิปุพฺโพ, จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อ. จิ จเย วา, อุโล.
  22. นิทฺทา : (อิต.) การหลับ, การนอน, การนอน หลับ, ความหลับ. นิปุพฺโพ, ทา สุปเน, อ. ทฺสํโยโค. นินฺทฺ ครหายํ วา, โท, นฺโลโป, อิตฺถิยํ อา. ส. นิทฺรา.
  23. นิทฺธารณ : (นปุ.) การนำออกแล้วทรงไว้ วิ. นีหริตฺวา ธารณํ นิทฺธารณํ. ลบบทหน้า เหลือ นี แล้ว รัสสะ ซ้อน ทฺ.
  24. นินฺนคา : (อิต.) แม่น้ำ วิ. นินฺนํ ฐานํ คจฉตีติ นินฺนคา. นินฺนปุพฺโพ, คมุ คติยํ สปฺปคติยํ วา, กฺวิ.
  25. นินฺเนชก : (ปุ.) ช่างฟอก, ช่างซัก, ช่างหนัง. นิชิ สุทฺธิยํ โสเจยฺยโสธเนสุ วา, ณฺวุ.
  26. นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
  27. นิปฺผาว : (ปุ.) ใบไม้วิเศษอันลมให้สำเร็จ, ใบ ไม้วิเศษมีลมให้สำเร็จ. วกาโร วาเต โหติ.
  28. นิพตฺติ นิพฺพตฺติ : (อิต.) แปลเหมือน นิพฺพตฺตน. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วตฺตฺ วตฺตเน วา, อิ.
  29. นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
  30. นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
  31. นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
  32. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  33. ปภา : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ความรุ่งเรืองโดยประการต่าง ๆ วิ. นานาปกาเรน ภาตีติ ปภา. ความรุ่งเรืองโดยประการ วิ. ปกาเรน ภาติ ทิพฺพตีติ ปภา. กัจฯ ๖๓๙ และอภิฯ รูปฯ ๕๖๙ วิ. ปภาตีติ ปภา. อภิฯ กัจฯ และ รูปฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  34. ปภาส : (วิ.) ยัง...ให้สว่าง, ยัง...ให้รุ่งเรือง, ยัง...ให้ผุดผ่อง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โส. ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อ. ลง เณ ปัจ. เหตุ. แล้วลบ. สว่าง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง. ๓ คำแปลนี้ ไม่ลงเณ ปัจ.
  35. ปรนิมฺมิตวสวตฺตี : (ปุ.) เทวดาชั้นปรนิม มิตวสวัตตี วิ. ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ วสํ วตฺเตนฺตีติ ปรนิมฺมิตวสวตฺตี ( เทวา ) . ปรนิมมิตวสวัตดี ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๖.
  36. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  37. ปรวาท : ป. คำกล่าวของผู้อื่น, คำเล่าลือของผู้อื่น; วาทะฝ่ายตรงข้าม, คำโต้แย้ง
  38. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  39. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  40. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  41. ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
  42. ปวาทิยติ : ก. ดู ปวาติ
  43. เปยฺย : (วิ.) อัน...พึงดื่ม, อัน...ควรดื่ม. วิ. ปาตพฺพํ ปิวิตพฺพํ วาติ เปยฺยํ. อัน..ได้ดื่มแล้ว, อัน...ดื่มอยู่, อัน...จักดื่ม. วิ. อปียตฺถ ปียติ ปียิสฺสตีติ เปยฺยํ. ปา ปาเน, โณฺยฺ แปลง อา กับ ณฺย ปัจ. เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐.
  44. เปส : (ปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
  45. เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
  46. เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
  47. โปกฺขร : (ปุ.) ช่องพิณ, รางพิณ. วิ. โปเสติ วฑฺเฒติ สทฺเทติ โปกฺขโร. ปุสฺ โปสเน วุฑฺฒิยํ วา, ขโร, อุสฺโส, สสฺสโก. กฏฐาทีหิ โทณิสณฺฐาเนน กตํ วชฺชภณฺฑํ วีณาย โปกฺขโร นาม. เป็น นปุ. บ้าง.
  48. โปต : (ปุ.) เรือ, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือน้อย), เรือเล็กของกำปั่น, ลูก, ลูกน้อย. ปุ ปวเน คติยํ วา, โต.
  49. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  50. พธิร : (ปุ.) คนหนวก. พนฺธฺ พนฺธเน, อิโร, นฺโลโป. พธฺ พนฺธเน วา, อิโร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.0711 sec)