Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 51-100
  1. ปพฺพาเชติ : ก. ๑. ให้ออกไป, ขับไล่, เนรเทศ; ๒. ให้บวช, ให้การบรรพชา
  2. ปรินิพฺพาติ : ก. ดับสนิท
  3. ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
  4. ปริพฺพาชก : ป. นักบวชนอกพระพุทธศาสนา
  5. ปาทสมฺพาหน : นป. ดู ปาทปริกมฺม
  6. ปุพฺพา : อิต. ทิศตะวันออก
  7. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  8. ปุพฺพาปร : (ปุ. นปุ.) อักขระเบื้องต้นและอักขระเบื้องปลาย, อักขระต้นและอักขระปลาย.
  9. ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
  10. มรุมฺพา : อิต. ก้อนกรวด, ก้อนหิน
  11. มุพฺพา : (อิต.) คันทรง, ชะเอม, ผักโหมหลวง. มุพฺพิ พนฺธเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  12. ลุพาติ : ก. ตัดออก, เก็บเกี่ยว
  13. วฬพามุข : นป. ไฟใต้น้ำ
  14. วา : อ. หรือ; หรือว่า
  15. สมฺพาธน : นป. การขัดขวาง, การกีดขวาง
  16. สมฺพาหน : นป. การนวด, การถู
  17. อติพาเหติ : ก. ไล่ไป, ขับไป, ลากไป
  18. อพฺพาหน : นป. การดึงออก, การลากออก
  19. อมฺพาฎกอมฺพาตก : (ปุ.) มะกอก.อมฺพฺสทฺเท, อโฏ.สกตฺเถโก.
  20. อมฺพาฎก อมฺพาตก : (ปุ.) มะกอก. อมฺพฺ สทฺเท, อโฏ. สกตฺเถ โก.
  21. อมฺพาลิกาอมฺพิกา : (อิต.) แม่.
  22. อมฺพาลิกา อมฺพิกา : (อิต.) แม่.
  23. อมฺพุพาหน : (นปุ.) ถัง, ครุชื่อภาชนะสานรูปกลม ๆ ยาชันสำหรับตักน้ำ.
  24. อุทกอุพฺพาหนตุลา : (อิต.) คันโพง.
  25. อุปฺปพฺพาเชติ : ก. ให้สึก, ให้ละจากบรรพชิตเพศ
  26. อุพฺพาสียติ : ก. อันเขาไม่ตั้งหลักแหล่ง, อันเขาไม่ทอดทิ้ง
  27. อุพฺพาหน : นป. การนำไป, การแบก
  28. อุพฺพาเหติ : ก. เบียดเบียน, กีดขวาง, รบกวน
  29. พตฺตีส : (อิต.) สามสิบสอง. ทฺวิ+ตึส แปลง ทฺวิ เป็น พา รัสสะ ซ้อน ตฺ.
  30. พา : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  31. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  32. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  33. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  34. ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
  35. รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
  36. นิพฺพาณ นิพฺพา : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  37. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  38. พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
  39. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  40. อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
  41. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  42. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  43. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  44. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  45. มิคพนฺธนี มิควนฺธนี มิคพนฺธีนี : (อิต.) เครื่องดัก, บ่วง. วิ. มิเค พนฺธตีติ มิคพนฺธินี, มิคปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี, อินี วา. ศัพท์ที่ ๒ แปลง พ เป็น ว.
  46. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  47. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  48. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  49. คมานิ : (วิ.) ควรไป วิ. คมิตพฺพาติ คมานิ. อานิ ปัจ.
  50. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.0574 sec)