Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 1401-1450
  1. หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
  2. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  3. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  4. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  5. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  6. องฺกย : (ปุ.) ชื่อกลองพิเศษชนิดหนึ่ง, ตะโพน, กลอง, โทนเล็ก.องฺกฺ คมนลกฺขเณสุ, โณฺย, โยวา.
  7. องฺคท : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลต้นแขน, เครื่องประดับแขน. วิ, องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ องฺคปุพฺโพ, ทา โสธเน, อ. องฺคฺคมเน วา, โท. ส. องฺคท องคท ชื่อบุตรของพาลีในเรื่องรามายณะ.
  8. องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  9. อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
  10. อชฺชก อชฺชุก : (ปุ.) แมงลัก, อ้อยช้าง, ผักบุ้งล้อม.อชฺ คมเน, โก, ทฺวิตฺตํ (แปลงชเป็นชฺช). อชฺช ปติสชฺชนสงฺขาเรสุ วา, อุโก.
  11. อชฺชุน อชฺชุนฺน : (ปุ.) ไม้รถฟ้า, ไม้รถฟ้าขาว, ไม้กุ่ม, ไม้อัญชัน.อชฺช อชฺชเน ปูชายํ วาอุโน. ส. อรฺชุน.
  12. อชฺฌายก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, นักเรียน, นักศึกษา.อธิปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ สิกฺขเณวา, ณฺวุ.
  13. อชฺฌาวสฏฺฐอชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน.อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
  14. อชฺฌาวสฏฺฐ อชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน. อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
  15. อญฺจน : (นปุ.) การไป, การถึง.การเป็นไป, การบูชา, การเคราพ, การนับถือ.อญฺจุคติปูชนาสุ, ยุ.
  16. อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
  17. อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
  18. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  19. อฏฺฐิอฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺสฏฺโฐอสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป.ศัพท์หลัง ก สกัด. ส.อสฺถิอสฺถิก.
  20. อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
  21. อฏวี : (อิต.) ป่า, หมู่ป่า, ป่าใหญ่, ดง, พง.อฎฺ คมเน, อโว, อิตฺถิยํ อี. อถวา, อาสทฺโทอุทฺธิคมนตฺเถ, ฏุ วิรูหเน, โณ, อิตฺถิยํอี.ส. อฎวี.
  22. อณฺณ : (ปุ. นปุ.) น้ำ, แม่น้ำ, ต้นสัก, ตัวหนังสือ. อณฺ สทฺเท, อ, ทฺวิตฺตํ (แปลง ณเป็นณฺณ).อรฺ คมเน วา, โต, อนฺนาเทโส (แปลง ต เป็น อนฺน), อนฺนสฺส อณฺณา เทโส (แปลง อนฺน เป็น อณฺณ), รฺโลโป(ลบ รฺ) หรือ แปลง ต เป็น ณฺณ.
  23. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  24. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  25. อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
  26. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  27. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  28. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  29. อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
  30. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  31. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  32. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  33. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  34. อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
  35. อโธคม : (ปุ.) อโธคมะชื่อลมในกายอย่างหนึ่งในหกอย่างคือลมพัดลงเบื้องต่ำ.วิ.อุจฺจารปสฺสาวาทีนํนีหรณวเสนอโธภาคํคจฺฉตีติอโธคโม.
  36. อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
  37. อนิจฺจกมฺม : (นปุ.) กรรมคือความไม่เที่ยง, ฯลฯ.ไทยอนิจกรรม ว่า ตายความตาย.
  38. อนิปฺผล : (วิ.) มีผลออกแล้วหามิได้, ไม่ไร้ผล, มีผล.วิ.นตฺถินิกฺขมิตฺวาผลเมตฺถาติอนิปฺผลํ.
  39. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  40. อนุโยค : (ปุ.) วาทะเครื่องประกอบตาม, วาทะเครื่องตามประกอบ, การซักไซ้, การซักถาม, คำถาม, การถาม, การประกอบความเพียร.ส. อนุโยค.
  41. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  42. อนูปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปกล่าว, การไม่กล่าวโทษ, การไม่กล่าวร้าย, การไม่ว่าร้ายอนูปวาทะ (การไม่เบียดเบียนด้วยวาจาคือการไม่พูดดูถูกเขาดูหมิ่นเขาข้อนขอด-เขา).อนูปฺฆาตะ และ อนูปวาทะเป็นคุณสมบัติของผู้เผยแพร่ (เผยแผ่) พระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสไว้ในโอวาท-ปาติโมกข์.
  43. อโนก : (วิ.) ไม่ให้โอกาส, ไม่เปิดโอกาส.วิ.อภิสงฺขารสหคตวิญฺญาณสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.อถวา, กายทุจฺจริตสฺสวจีทุจฺจริตสฺสมโนทุจฺจริตสฺสโอกาสํนกโรตีติอโนโก.
  44. อปกฺกม : (ปุ.) การหนี, การถอยหนี, การล่าถอยวิ.อปวชฺเชตฺวากมนํอปกฺกโม.ส. อปกฺรมอปกฺรมณ.
  45. อปจย : (ปุ.) การเคราพ, การบูชา.อปปุพฺโพ, จายุ ปูชายํ, อ. รัสสะอาเป็นอ.ส. อปจย.
  46. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  47. อปจายี : (วิ.) ผู้ยำเกรง, ผู้เคราพ, ผู้นับถือ, ผู้บูชา.
  48. อปธารณ : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การบัง.อปปุพฺโพ, ธรฺธารฺวาธารเณ, ยุ.
  49. อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
  50. อปรเสล : (ปุ.) ภูเขาข้างทิศปัจฉิม.วิ. ปุพฺพเสลมุปาทายอปรเสโล.อปรสฺมึทิสาภาเคเสโลวาอปรเสโล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.0689 sec)