Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 401-450
  1. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  2. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  3. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  4. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  5. กณฺฑ : (ปุ.) ลูกปืน, ลูกศร, ลูกธนู, ก้าน, ราก, ลำต้น, ท่อน, ท่อนไม้, ไม้เท้า, วรรค, ตอน, หมวด, อวกาศ, โอกาส, รำข้าว. กมฺ ปทวิกฺเขเป, กณฺ วา สทฺเท, โฑ. กณฺฑฺ วา เภทเน, อ. รูปฯ ๖๕๗ กฑิ เฉทเน, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป (ลบ ก ตัว ปัจ.)
  6. กณิการ กณฺณิการ : (ปุ.) กรรณิการ์, กัณณิ การ์. วิ. อคนฺธปุปฺผตาย อตฺตานํ กณิฏฺฐํ  กโรตีติ กณิกาโร กณฺณิกาโร วา. กณิฏฺฐปุพฺโพ กรฺ กรเณ, โณ, ฏฺฐโลโป. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  7. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  8. กทริย : (วิ.) ผู้มีความตระหนี่อันกระด้าง, ผู้ ตระหนี่, ผู้ดีเลว. วิ. ปรานุปโภเคน อตฺถสญจยสีลตฺตา กุจฺฉิโต อริโย อตฺถปติ กทริโย. อทายกตฺตา กุจฺฉิตํ ฐานํ อรตีติ วา กทริโย. กุปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อิโย, กุสฺส กทอาเทโส.
  9. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  10. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  11. กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.
  12. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  13. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  14. กพล กพฬ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น นปุ. ก็มี.
  15. กมฺพุ : (ปุ.) ทอง, ทองคำ, ทองปลายแขน, ทองกร, กำไลมือ. กมุ อิจฉายํ, พุ. กมฺพฺ สํวรเณ วา. อุ.
  16. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  17. กโมลิ กโมฬิ : (ปุ. อิต.) โมลีแห่งหมู่พรหม, โมฬีแห่งหมู่พรหม. วิ. เกสํ พฺรหฺมานํ โมลิ โมฬิ วา กโมลิ กโมฬิ วา. เป็น กโมลี บ้าง.
  18. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  19. กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรียตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
  20. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  21. กลก กลงฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, ตำหนิ. ก มตฺตานํ ลํกยติ หีนํ กโรตีติ กลํโก กลงฺโก วา. กปุพฺโพ, ลํกฺ องฺเก, อ. ส. กลงฺก.
  22. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  23. กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
  24. กลฺย กลฺล : (นปุ.) อันนับ, การนับ. วิ. กลฺยเตติ กลฺยํ กลฺลํ วา. กลฺ สํขฺยา เณ, โย, โล วา. รูปฯ ๖๔๐.
  25. กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
  26. กลส : (ปุ.) ตุ่ม, ไห, ถ้วย, หม้อน้ำ, กลส กลศ ชื่อภาชนะ มีรูปเหมือนคนโทน้ำ มีฝาปิด และมีพวยเหมือนกาน้ำ สำหรับใส่น้ำเทพ- มนต์ ของพราหมณ์ วิ. เกน ลสตีติ กลโส. กปุพฺโพ ลสฺ กนฺติยํ, อ. เกน ลิสฺสตีติ วา กลโส. ลิสฺ สิเลสเน, อ, อิสฺสตฺตํ, กลียตีติ วา กลโส. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโส. ส. กลศ.
  27. กลาย กฬาย : (ปุ.) ถั่วดำ วิ. กํ วาตํ ลาตีติ กลาโย กฬาโย วา. กปุพฺโพ. ลา อาทาเน, โย. ถั่วแปบ ถั่วราชมาศ ก็แปล.
  28. กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลียตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺยาเณ, อาโร.
  29. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  30. กสาว : (ปุ.) รสฝาด วิ. กํ ปานิยํ เสวเตติ กสาโว. กปุพฺโพ, สี เสวายํ, อโว. กํ สวาเปติ วา กสาโว. กปุพฺโพ, สุ ปสเว, อ, โณ วา.
  31. กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
  32. กากตินฺทุก : (ปุ.) ตะโก, มะเกลือ. วิ. กากานํ ตินฺทุโก กากตินฺทุโก. กากฺวณฺณสทิสติ- นฺทุโก วา กากฺตินฺทุโก.
  33. กาโกล กาโกฬ : (ปุ.) กาป่า วิ. กาโก วิย อุลตีติ กาโกโล กาโกโฬ วา. อุลฺ คมเน, อ.
  34. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  35. กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
  36. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  37. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  38. กาส : (ปุ.) โรคไอ วิ. กาสตีติ กาโส. กาสฺ สทฺทกุจฺฉายํ, โณ. กุจฺฉิตํ สสตีติ วา กาโส. กุจฺฉิตปุพฺโพ, สสฺ ปาณเน, โณ, สฺโลโป. การไอ วิ. กาสนํ กาโส. ส. กาศ, กาส.
  39. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  40. กาฬ : (ปุ.) ดำ (สี...), เขียวคราม (สี...), สีดำ, สีเขียวคราม. วิ. วณฺเณสุ เอกโกฏฺฐ าสภา เวน กลฺยเตติ กาโล. โส เอว กาโฬ. กลฺ สํขฺยาเณ, อโล. กาติ ผรุสํ วทตีติ วา กาโฬ. กา สทฺเท, โฬ.
  41. กาฬกณฺฏก กาฬกณฺฐ ก : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. กาโฬ กณฺฏโก ยสฺส โส กา ฬกณฺฏโก. กาเล วสฺสมุตุมฺหิ กณฺโฐ กณฺฐทฺธนิ ยสฺส โส กาฬกณฺฏโก. กาฬกณฺฐโก วา. สมาสนฺเตน กปจฺจโย, ลสฺส โฬ.
  42. กิจฺจ : (นปุ.) กรรมอัน...พึงทำ, กรรมอัน...ย่อม ทำ. วิ. กตฺตพฺพนฺติ กิจฺจํ. กริยเตติ วา กิจฺจํ. กรฺ กรเณ, ริจฺโจ. ที่ใช้เป็นกิริยาเป็น กิริยาคุมพากย์ได้.
  43. กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
  44. กิพฺพิส : (นปุ.) บาป, โทษ, ความผิด. วิ. กโรติ อนิฏฺฐ ผลนฺติ กิพฺพิสํ. กรียตีติ วา กิพฺพิสํ. กรฺ กรเณ, อิพฺพิโส. กิลฺยเต สิถิลี กรียเต อเนนาติ วา กิพฺพิสํ. กลฺ สิถิเล. ลบที่สุดธาตุ.
  45. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  46. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  47. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  48. กิลมถ : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเจ็บไข้. กิลมฺ หาสกฺขเย, โถ, อโถ วา.
  49. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  50. กีร : (ปุ.) นกแขกเต้า, นกแก้ว, นกกะหรอด. วิ. กี อิติ สทฺทํ กีโร. กีปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ. กโรติ มนุสฺสทฺทนฺติ วา กีโร. กรฺ กรเณ, อ, อสฺสี. ส. กีร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.0581 sec)