Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 901-950
  1. สาลปณฺณี : (อิต.) บังโกรยตัวผู้. สาลปณฺณสทิสวิสฎตาย สาลปณฺณี. สาลํ โสภณยุตฺตํ ปณณ มสฺสาติ วา สาลปณฺณี.
  2. สาลว สาฬว : (ปุ.) โลท. ต้นโลท. วิ. สลติ ปวตฺตีติ สาลโว สาฬโว วา. สลฺ คมเน, อโว. แกงอ่อม ต้มยำ ก็แปล ?.
  3. สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
  4. สาฬิก : (ปุ.) นกสาฬิกา (ตัวผู้). สลฺ คติยํ, ณิโก, สสฺส หตฺตํ. สฬฺ อพฺยตฺเต สทฺเท วา.
  5. สาฬุร สาฬูร : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. มิเค สรตีติ สาฬุโร สาฬูโร วา. สรฺ หึสายํ, อุโร อูโร วา, รสฺส โฬ, ทีโฆ จ.
  6. สิคาล สิงฺคาล : (ปุ.) หมาจิ้งจอก, หมาป่า. วิ. สสาทโย สรตีติ สิคาโล สิงฺคาโล วา. สรฺ หึสายํ, อโล, สรติสฺส สิโค สิงฺโค วา.
  7. สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
  8. สินฺธุ สินฺธู : (อิต.) แม่น้ำ, แม่น้ำสินธู. วิ. สีอิติสาททฺทํ กุรุมานา ธุนาตีติ สินฺธุ สินธู วา. สิปุพฺโพ, ธุ กมฺปเน, อุ, อู, นิคฺคหิตาคโม.
  9. สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
  10. สิริส สิรีส : (ปุ.) ซีก, ไม้ซีก. สรติโรคนฺติ สิริโส สิรีโส วา. กัจฯและรูปฯ อิส ปัจ. อภิฯ และฎีกา อีส ปัจ. สรฺ หึสายํ, อสฺสิ, สรฺ จินตายํ วา.
  11. สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
  12. สิโรธรา : (อิต.) คอ วิ. สิรํ ธรตีติ สิโรธรา. สิรปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. สิโร ธิยฺยเต อสฺสนฺติ วา สิโรธรา. ธา ธารเณ, อโร.
  13. สิเลสุม : (ปุ.) เศลษม์, เสลด, เสมหะ สิลิสฺ สิเลสฺ วา สิเลสเน, อุโม.
  14. สิวิ : (ปุ.) สิวิ สิวี ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. เสวนฺติ อเนนาติ สิวิ. สิ เสวายํ, วิ. สิวํ กโรนฺตีติ วา สิวิ. สิว+อิ ปัจ.
  15. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  16. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  17. สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
  18. สีกร : (ปุ.) ฝนตกประปราย วิ. สีตํ กโรตีติ สีกโร. สิญฺจตีติ วา สีกโร. สิจฺ ปคฺฆรเณ, อโร, จสฺส โก. วาตวเสน วา ตโต ตโต สรตีติ สีกโร. สรฺ คติยํ, อ, อสฺส อี, มชฺเฌ กฺอาคโม จ. ส. ศีกร, สีกร.
  19. สีห : (ปุ.) สิงห์, สิงโต, ราชสีห์. วิ. มิเค หึสตีติ สีโห. หิสี หึสายํ, อ, วณฺณวิปริยาโย. สสุ หึสายํ วา, อีโห, สุโลโป. สหิ สตฺติยํ วา, อ, อสฺสี. มิเค หนฺตํ ุ สํวิชฺชมานา อีหา อสฺสาติ วา สีโห.
  20. สึฆานิกา สิงฺหานิก : (อิต.) น้ำมูก. วิ. สึฆติ ปสวตีติ สึฆานิกา. สึฆฺ ปสเว, อานิโก. สึฆาเน วา ชาตา สึฆานิกา. ณิกปัจ.
  21. สุก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า, วิ โสกติ มนาเปน คมเนน คจฺฉตีติ สุโก. สุกฺ คติยํ, อ. สุนฺทรํ สุฏฐุ วา มนุสฺสสทฺทํ กายตีติ วา สุโก. สุนฺทรปุพฺโพ, กา สทฺเท, อ.
  22. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  23. สุกร สูกร : (ปุ.) หมู, สุกร (สุกอน). วิ. สุนฺทรํ ผลํ กโรตีติ สุกโร สูกโร วา. อ ปัจ. ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. ศูกร, สูกร.
  24. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  25. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  26. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  27. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  28. สุทตฺต : (ปุ.) สุทัตตะ สุทัตต์ ชื่อของอนาถบิณ-ฑิกเศรษฐี. วิ. สุนฺทโร อตฺตา ยสฺส โส สุทตฺโต. สุนฺทรํ ทตฺตํ ทาน มสฺส วา สุทตฺโต.
  29. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  30. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  31. สุริย : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์, สุริยน, สุริยัน. วิ. โลกานํ สุรภาวํ ชเนตีติ สุริโย. สรตีติ วา สุริโย. สรฺ คติยํ, โย. สรสฺส สุริ. อนฺธการวิธมเนน สตฺตานํ ภยํ สุนาตีติ วา สุริโย. สุ หึสายํ, อิโย, รฺ อาคโม. กัจฯ ๖๗๓ รูปฯ ๖๖๗ ลง อิส ปัจ. แปลง ส เป็น ย.
  32. สุว สุวก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า. วิ. มนุสฺสสทฺทมฺปิ สุณาตีติ สุโว สุวโก วา. สุ สวเน, อ, อุวาเทโส. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  33. สุวีร : (ปุ.) สุวิระ ชื่อโอรสพระอินทร์, โอรสพระอินทร์. วิ. อติสเยน วิโรติ สุวีโร. อิตสเยน วา สูรตฺตา สุวีโร.
  34. สุหท สุหทเย : (วิ.) มีใจดี วิ. สุนฺทรํ หทย เมตสฺสาติ สุหโท สุหทโย วา. ศัพท์ต้น ลบ ย. ส. สุหฤทย.
  35. สูท : (ปุ.) คนผู้หลั่งออกซึ่งรส, คนผู้ยังรสให้หลั่งออก. สุ ปคฺฆรเรณ, โท, ทีโฆ. อถวา, สุทฺ สูทฺ วา ปคฺฆรเณ, อ. คนผู้ยังขาทนียะ และโภชนียะให้สุก, คนผู้ยังอาหารให้สุก, คนครัว, พ่อครัว. สุ. พฺยนฺตีกรเณ, โท.
  36. สูริย : (ปุ.) พระอาทิตย์, ดวงอาทิตย์. วิ. อนฺธ การวิธมเนน สตฺตานํ ภยํ สุรตีติ สูริโย. สุรฺ หึสายํ, อิโส, สสฺส โย, ทีโฆ. กัจฯ ๖๗๓. สุรฺ อิสฺสริยทิตฺตีสุ วา. สุ หึสายํ วา, รฺอาคโม. สูรฺ วิกฺกนฺติยํ วา. ส. สูรฺย, สูรยฺย.
  37. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  38. เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
  39. เสนานี : (ปุ.) บุคคลผู้นำเสนา, ขุนพล, แม่ทัพ, เสนาบดี, มหาอำมาตย์. วิ. เสนาย นี นายโก เชฎฺโฐ เสนานี. เสนํ นยตีติ วา เสนานี กฺวิ ปัจ.
  40. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  41. โสถฆาตี โสผฆาตี : (อิต.) ผักโหม, ผักหัวแหวน. วิ. โสถํ โสผํ วา หนฺตีติ โสถฆาตี โสผฆาตึ วา. หนฺ หึสายํ, อ, หนสฺส ฆาโต, อิตถิยํ อี.
  42. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  43. โสพฺภ : (นปุ.) รู, ช่อง โพรง. วิ. สุฎฺฐุ อพฺภ มากาส มสฺมินฺติ โสพฺภํ. สีทนฺติ เอตฺถาติ วา โสพฺภํ. สิทฺ คตฺวสาเน, โภ, อิสฺโส, ทสฺส โพ.
  44. โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
  45. โสม : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์. วิ. กนฺติยา สห วิชฺชตีติ โสโม. สุขํ อภสฺสวตีติ วา โสโม. สุ ปสเว สวเน วา, โม, อุสฺโส. ส. โสม.
  46. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  47. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  48. หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
  49. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  50. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.0649 sec)