Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พา , then , พะ, พา, วา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พา, 1584 found, display 501-550
  1. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  2. โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  3. : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, นำไป. คมฺ คติยํ, กฺวิ, โร วา.
  4. คช : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. คชตีติ คโช. คช. สทเท มทฺทเน วา อ.
  5. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  6. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  7. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  8. คนฺธสาร : (ปุ.) แก่นจันทร์ วิ. คนฺธานํ สาโร อุตฺตโม คนฺธสาโร. คนฺธยุตฺโต สาโร ถิรํโสติ วา คนฺธสาโร.
  9. คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
  10. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  11. ครฬ : (นปุ.) พิษ (เช่นพิษงู) วิ. ครตีติ ครฬํ. ครฺ อทเน, อโฬ. คริติ ชีวนนฺติ วา ครฬํ. คิรฺ นิคิรเณ, อโฬ, อิสฺส อตฺตํ.
  12. คล : (ปุ.) คอ, ลำคอ (เครื่องกลืนกิน) วิ. คลนฺติ อเนนาติ คโล. คลฺ อทเน, อ. คิลติ อเนนาติ วา คโล. คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อ, อิสฺส อตฺตํ.
  13. ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
  14. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  15. คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
  16. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  17. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
  18. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
  19. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  20. คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
  21. คุหาสย : (วิ.) มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย วิ. คุหา อาสยา อสฺส อตฺถีติ คุหาสโย คุหาสยํ วา คุหาสยา วา. นอนอยู่ในถ้ำ วิ. คุหายํ สยตีติ คุหาสยํ (จิตฺตํ).
  22. เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
  23. โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
  24. โคกุล : (นปุ.) คอกของโค, คอกโค, วิ. คาโว กุลนฺตฺยตฺราติ โคกุลํ. กุลฺ สํขฺยาเณ, อ. คุณฺณํ กุลํ ฆรํ วา โคกุลํ.
  25. โคจฺฉก : (ปุ.) ช่อ, พวง. วิ. โคปียตีติ โคจฺฉโก, คุปฺ โคปเน, คุธฺ ปริเวธเน, ณฺวุ, ปสฺส ธสฺส วา โฉ, สํโยโค.
  26. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  27. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  28. โคนงฺค โคนงฺคุล : (ปุ.) ลิงหน้าดำ (ชนี), ชนี, ค่าง. วิ.คุณฺณํ นงฺคสทิสตฺตา นงฺคุลสทิสตฺตา วา โคนงฺโค โคนงฺคุโล วา.
  29. โคปฺผ โคปฺผก : (ปุ.) ข้อเท้า, ตาตุ่ม วิ. โคปิยตีติ โคปฺโผ โคปฺผโก วา คุปฺ รกฺขเณ, โผ ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  30. โคมิฬฺห โคมีฬฺห : (ปุ.) มูลโค, ขี้โค. วิ. ควํ มิโฬฺห มีโฬฺห วา. โคมิโฬฺห โคมีโฬฺห วา.
  31. โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
  32. โคสขฺย โคสงฺขฺย : (ปุ.) คนเลี้ยงโค, คนเลี้ยง สัตว์, นายโคบาล. วิ. คาโว สํขฺยายตีติ โคสํโขฺย โคสงฺโขฺย วา. สํปุพฺโพ. ขฺยา คณเน,อ.
  33. ฆฏฺฏน : (นปุ.) การไหว, การสั่น, การรัว, การบุ, การเคาะ, การแคะ, การงัด, การกระทบ. ฆฏฺ ฆฏิ วา จลนฆฏฺฏเนสุ, ยุ.
  34. ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
  35. ฆโนปล : (นปุ.) ลูกเห็บ คือเม็ดน้ำแข็งที่ตกลง มาจากอากาศเมื่อฝนตก วิ. ฆนโต ฆนกาเล วา สญฺชาติ อุปสํ สิลา ฆโนปล.
  36. ฆร : (นปุ.) กล่อง, เรือน. วิ. ฆรติ กิเลสวสฺสํ เอตฺถาติ ฆรํ. ฆรฺ เสจเน, โณ. คยฺหตีติ วา ฆรํ. คหฺ คหเณ. โณ, คหสฺส ฆราเทโส. รูปฯ ๕๖๗.
  37. ฆรสปฺป : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู, งูเขียว. วิ. ฆเร สปฺโป ฆรสปฺโป. ฆเร วา นิวาโส สฺปโป ฆรสปฺโป.
  38. ฆาตุก : (วิ.) มีปกติเบียดเบียน, มีปกติคิดร้าย วิ. หนนสีโล หึสนสึโล ฆาตุโก. อุโก ณุโก วา.
  39. ฆาน : (นปุ.) จมูก วิ. ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ ฆานํ. ฆายนฺติ อเนนาติ วา ฆานํ. ฆา คนฺโธปาทาเน, ยุ.
  40. โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  41. โฆสนา : (อิต.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  42. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  43. จตุจตฺตาลีส จตุจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบยิ่งด้วย สี่, สี่สิบสี่. วิ. จตูหิ อธิกา จตฺตาสีสํ จตุจตฺตาลีสํ จตุจตฺตาฬีสํ วา.
  44. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  45. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  46. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  47. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  48. เจฏ เจฏก : (ปุ.) คนใช้ ( เขาใช้ไป ), ทาส, บ่าว. จิฏฺ เจฏฺ วา เปสเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจฏก.
  49. เจตก : (ปุ.) สัตว์อันเขาส่งไป. สัตว์สำหรับต่อ ( สัตว์พวกเดียวกัน), สัตว์ต่อ, จิฎฺ เจฏฺ วา เปสเน, จิต เปสนีเย วา, โณ, สตฺเถ โก. หรือลง ณฺวุ ปัจ. ถ้าลง ณฺวุ ก็ไม่ต้องลง ก สกัด.
  50. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1584

(0.1025 sec)