Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เมืองขึ้น, เมือง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, มอง, เมือง, เมืองขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เมืองขึ้น, 794 found, display 251-300
  1. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  2. มหาปเทส : (ปุ.) ประเทศใหญ่, มหาประเทศ. คือประเทศที่มีกำลังมาก ทั้งทางการเมือง ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ.
  3. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  4. มาธุร : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมธุรา, ผู้อยู่ในเมืองมธุรา. ณ ปัจ. รูปฯ ๓๖๒.
  5. มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
  6. ยานคต : ค.ไปแล้วในยาน, ขึ้นขี่ยาน
  7. ยุวราช : (ปุ.) ยุพราช, พระยุพราช พระนามรัชทายาทที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้น.
  8. รฏฺฐ : (ปุ.) คนอยู่ในแว่นแคว้น, ชาวเมือง, ราษฎร.
  9. รฏฺฐนิยม : (ปุ.) ความกำหนดของบ้านเมือง, รัฐนิยม.
  10. รฏฺฐปาล : (ปุ.) บุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, คณะบุคคลผู้ปกครองบ้านเมือง, รัฐบาล (องค์การปกครองบ้านเมือง องค์การบริหารบ้านเมือง).
  11. รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
  12. รฏฺฐมนฺตี : (ปุ.) คนมีความคิดของบ้านเมือง, คนมีความรู้ของบ้านเมือง, รัฐมนตรี ชื่อบุคคลผู้รับ ผิดชอบในนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นที่ปรึกษาการบ้านเมือง ผู้เป็นหัวหน้าเป็นใหญ่ในกระทรวง.
  13. รฏฺฐสภา : (อิต.) ที่ชุมนุมของบ้านเมือง, ที่ประชุมของรัฐ, ที่ประชุมปรึกษาการบ้านเมือง, รัฐสภา ชื่อองค์การนิติบัญญัติ.
  14. รฏฺฐาธิป : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งแว่นแค้วน, บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งบ้านเมือง, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  15. ราชธานิ : อิต. ราชวัง, เมืองหลวง
  16. รุห : ค. ซึ่งงอกขึ้น, เจริญขึ้น
  17. รูหติ : ก. งอกขึ้น, เจริญขึ้น
  18. รูฬฺห : กิต. งอกขึ้นแล้ว, เจริญแล้ว
  19. โรหติ : ก. งอกขึ้น, เจริญขึ้น
  20. ลุญฺจติ : ก. ลากออก, ดึงออก, ถอยขึ้น
  21. วยมฺห : ป. วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์
  22. วาจุคฺคต : ค. คล่องปาก, ขึ้นปาก
  23. วิโลม : ค. ย้อนขึ้น, ทวน
  24. วุฏฺฐหติ : ก. ตั้งขึ้น, ลุกขึ้น
  25. เวสาลี : อิต. ชื่อเมือง
  26. สงฺฆ : ป. สงฆ์, ภิกษุ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป
  27. สงฺฆกมฺม : นป. การกระทำของสงฆ์ ได้แก่ กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำในสีมา
  28. สณฺฐปน : นป. การจัดให้เข้ารูป, การตั้งขึ้น
  29. สณฺฐเปติ : ก. จัดระเบียบ, ให้ตั้งขึ้น
  30. สณฺฐหน : นป. การหยุดพัก, การสร้างขึ้น
  31. สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
  32. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  33. สมารูหน : นป. การไต่, การปีน, การขึ้น
  34. สมารูฬฺห : กิต.ไต่แล้ว, ขึ้นแล้ว
  35. สมาโรปน : นป. การยกขึ้น
  36. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  37. สมุคฺคม : ป. การขึ้นต้น
  38. สมุคฺฆาต : ป. การถอนขึ้น
  39. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  40. สมุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขึ้นพร้อม, การตัดขึ้นด้วยดี, การตัดขาด, ความตัดขาด.
  41. สมุฏฺฐหติ : ก. ตั้งขึ้น, ลุกขึ้น
  42. สมุฏฐาน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อม, ความตั้งขึ้นพร้อม, ที่ตั้ง, เหตุ, เค้าเงื่อน, สมุฎฐาน.
  43. สมุฏฺฐาน : นป. การตั้งขึ้น, เหตุที่เกิด
  44. สมุฏฺฐิต : กิต. ตั้งขึ้นแล้ว
  45. สมุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ถอนขึ้นแล้ว
  46. สมุทฺธรณ : นป. การยกขึ้น, การถอนขึ้น
  47. สมุทฺธรติ : ก. ยกขึ้น, ถอนขึ้น
  48. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  49. สมุทยธมฺม : (วิ.) มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา.
  50. สมุทาจรติ : ก. ปรากฏขึ้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-794

(0.0710 sec)