Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เมืองขึ้น, เมือง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, มอง, เมือง, เมืองขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เมืองขึ้น, 794 found, display 701-750
  1. นาสิกาโลม : (นปุ.) ขนเกิดในจมูก, ขนจมูก.
  2. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  3. นิพฺพาหาเปติ : ก. นำออก, ขนออก
  4. นิลฺโลกน : ค. ผู้เฝ้ามอง, ผู้ระมัดระวัง
  5. นิลฺโลเกติ : ก. เฝ้ามอง, ระมัดระวัง
  6. ปฏิกฺขติ : ก. เพ่งเฉพาะ, มองดู, คาดหมาย
  7. ปฏิย : นป. ผ้าลาดสีขาวทำด้วยขนสัตว์
  8. ปฏิโยโลเกติ : ก. มอง, จ้อง, สังเกต
  9. ปตฺตนาฬี : อิต. ก้านปีก, ก้านขนไก่
  10. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  11. ปมฺห : (นปุ.) ขนหนังตา, ขนตา, วิ. ปมิโนติ ปมฺหํ. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โห. อมฺ คติยํ วา.
  12. ปวาล : ป. ผ้าขนสัตว์
  13. ปวิโลเกติ : ก. เหลียวดู, จ้องดู, มองไปข้างหน้า
  14. ปสฺสติ : ก. เห็น, มองเห็น, ดู
  15. ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
  16. ปิจฺฉ : นป. ขนหาง (โดยเฉพาะหมายถึงขนหางนกยูง) ; ยางไม้, กาว
  17. ปิญฺฉ, ปิญฺช : นป. ขนหาง, ขนหางนก, ปีก (นก)
  18. ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
  19. ปุงฺข : ป. ลูกศรด้านที่มีขนนก
  20. เปกขุณ : นป. ขนหางนกยูง
  21. โปงฺข : นป. ขนนกที่ประดับปลายลูกศร
  22. ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
  23. พาหิรโลมี : ค. มีขนในภายนอก
  24. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  25. ภมุกโลม : (ปุ. นปุ.) ขนของคิ้ว, ขนคิ้ว.
  26. มหาโกชว : (ปุ.) เครื่องลาดทอด้วยขนสัตว์ยาว, ผ้าโกเชาว์ผืนใหญ่, พรมใหญ่.
  27. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  28. มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
  29. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  30. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  31. โรมญฺจ : ป. ขนแข็ง, ขนชูชัน
  32. โลมกูป : ป. ขุมขน, รูขน
  33. โลมหส : ป., โลมหํสน นป. ขนชูชัน
  34. วาล : ๑. ป. ขนหางสัตว์, ขนสัตว์; ๒. ค. ดุร้าย, ร้าย
  35. วาลคฺค : นป. ปลายขน
  36. วาลธิ : ๑. ค. ผู้ทรงไว้ซึ่งขนหาง ; ๒. ป. ขนหาง
  37. วาลวีชนี : อิต. พัดหรือแส้ทำด้วยขนสัตว์
  38. วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
  39. โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
  40. สมีรณ : (ปุ.) เฉียงพร้ามอง, เฉียงพร้ามาญ, ผัดคราด, ตะไคร้, แมงลัก.
  41. สล สลล สลฺลล : (นปุ.) ขนเม่น. สลฺ อาสุคติยํ, อ, อโล. ศัพท์ที่ ๓ สลฺลฺ อาสุคติยํ, อโล.
  42. สลสี : (อิต.) ขนเม่น. สลฺ ธาตุ อล ปัจ. อี อิต.
  43. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  44. สิวถิกา : (อิต.) หมาจิ้งจอก ชื่อหมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ำตาลแกมเทา หางยาวเป็นพู่ ชอบหากินในเวลากลางคืน สรฺ หึสายํ, อิโว. อภิฯ ตั้ง สมุ อุปสเม? หมาใน ก็แปล.
  45. อกฺขิค : (นปุ.) วัตถุอันโค้งอยู่ที่ตา, ขนหางตาขนตา, ขนคิ้ว.อกฺขิ+อค.
  46. อจฺฉท : (ปุ.) ตะไคร้, ผักไห่ชื่อผักชนิดหนี่งใช้ทำยา, เฉียงพร้า มีหลายชนิด ใช้ทำยา, ผักบุ้งร้วม ผักบุ้งชนิดหนึ่งต้นเป็นขน ใบเล็ก มีรสขม ใช้ทำยา, แมงลัก, จันทน์.
  47. อชินสาฏี : (ปุ.) ฤาษี(ผู้นุ่งห่มผ้าขนสัตว์).อชิน+สาฏ+อีปัจ.
  48. อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
  49. อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์(สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู.อาปุพฺโพ, ถรฺสนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
  50. อตฺถทสฺสี : (วิ.) ผู้มองเห็นซึ่งประโยชน์, ผู้มองเห็นประโยชน์, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | [701-750] | 751-794

(0.0493 sec)