Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เมืองขึ้น, เมือง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, มอง, เมือง, เมืองขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เมืองขึ้น, 794 found, display 401-450
  1. อลกา : (อิต.) อลกาชื่อเมืองกุเวร, เมืองกุเวร.วิ. อลํกโรตีติ อลกา.อลปุพฺโพ, กรฺกรเณ, กฺวิ.เป็นอาลกา บ้าง.ส. อลกา.
  2. อวนฺติอวนฺตี : (อิต.) อวันตีชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ของอินเดียโบราณเมืองหลวงชื่ออุชเชนี.วิ. น วมนฺตีติอวนฺติ.นปุพฺโพ, วมุอุคฺคิรเณ, ติ, มสฺสนตฺตํ.อวตีติวาอวนฺติอวนฺตีวา.อวฺรกฺขเณ, นฺโต, อิตฺถิยํอี.ส.อวนฺติอวนฺติกาอวนฺตี.
  3. อวรปุร : นป. ทิศตะวันตกของเมือง
  4. อสกูฏ : (ปุ.) จะงอยบ่า, หัวไหล่ก็แปล. ส. อํสกูฏหนอก, เปลี่ยวโค (เนื้อที่นูนขึ้นที่คอ).
  5. อสมุฏฺฐิต : ค. ไม่ตั้งขึ้น, ไม่อุบัติขึ้น
  6. อสมูหต : กิต. ไม่ถูกถอนขึ้น, ไม่ถูกเพิกขึ้น
  7. อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
  8. อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
  9. อฬกา : (อิต.) อฬกาชื่อเมืองกุเวรวิ.อลํ วิภูสนํกโรตีติอลกา.สาเอวอฬกา.เป็นอาฬกาบ้าง.
  10. อาจย : ป. การสั่งสม, การรวบรวม, ก่อทำขึ้น
  11. อาชว : ป. ตัณหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
  12. อาณาจกฺก : (นปุ.) จักรคืออำนาจ, เขตแดนของอำนาจ, อาณาจักร (เขตแดนที่อยู่ในอำนาจปกครองของรัฐบาลหนึ่ง ๆ อำนาจปกครองของปกครองของบ้านเมือง).ส. อาชฺญาจกฺร
  13. อาณาปก : ๑. นป. คนออกระเบียบข้อบังคับประจำเมือง ; ๒. ค. ผู้สั่ง, ผู้บังคับ, ผู้ออกระเบียบ
  14. อาณาปชารฏฺฐ : (ปุ.) ราษฏรชาวเมืองผู้อยู่ในอำ-นาจปกครอง, ราษฏรชาวเมืองซึ่งอยู่ในอำ-นาจปกครอง, อาณาประชาราษฏร์.
  15. อาปาทก : ๑. ป. ผู้ดูแลเด็ก, คนเลี้ยงเด็ก ; ๒. ค. ผลิตขึ้น, ก่อให้เกิดขึ้น, นำไปสู่
  16. อาปาเทติ : ก. พยาบาล, บำรุง, รักษา, ผลิตขึ้น
  17. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  18. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  19. อารกฺขอารกฺขณ : (นปุ.) การป้องกัน, การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง, อารักขา.ขออารักขาคือขอให้ฝ่ายบ้านเมืองมาช่วยคุ้มครองป้องกันภัยอันตราย.อาปุพฺโพ, รกฺขฺปาลเนอ, ยุ.ส.อารกฺษ.
  20. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  21. อารุยฺห : กิต. ขึ้นแล้ว, งอกขึ้นแล้ว, เติบโตขึ้นแล้ว
  22. อารุหติ : ก. ขึ้น, งอกขึ้น, เติบโตขึ้น
  23. อารุหน : นป. การขึ้น, การงอกขึ้น, การเติบโตขึ้น, การเจริญขึ้น
  24. อารูฬฺห : กิต. ขึ้น, งอกขึ้น, เจริญขึ้น
  25. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  26. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  27. อาโรห : (วิ.) ยาว, ยกขึ้น, ขึ้นไป, สูง, ทรวดทรง
  28. อาโรหณ, - หน : นป. การขึ้น, การปีน
  29. อาโรหน : (นปุ.) การยกขึ้น, การขึ้นไป, ความยาว, ส่วนยาว, ความสูง, ส่วนสูง.อาปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, โณ.ส.อาโรห, อาโรหณ.
  30. อาลกมนฺทา : อิต. เมืองของท้าวกุเวร
  31. อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
  32. อาลยสมุคฺฆาต : (ปุ.) ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่ง อาลัย, ความหมดกังวล, ความหมด อาลัย, ความหมดตัณหา.
  33. อาสวติ : ก. ไหลไป, เกิดขึ้น
  34. อาสาวติ : อิต. ชื่อเถาวัลย์ที่งอกขึ้นที่สวนจิตลดาสรวงสวรรค์
  35. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  36. อาฬกมนฺทา : อิต. เมืองท้าวกุเวร
  37. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  38. อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
  39. อิสฺสรนิมฺมาณ : นป. การเนรมิตขึ้น, การสร้างขึ้น
  40. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  41. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  42. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  43. อุ : อ. เป็นอุปสรรค ใช้ต่อหน้าศัพท์มีความหมายว่า ขึ้น, นอก, เหนือ, บน
  44. อุกฺกชฺชติ : ก. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  45. อุกฺกฏฺฐ : (ปุ.) เสียงอันบุคคลกล่าว, เสียงอัน บุคคลเปล่งขึ้น, เสียงโห่.
  46. อุกฺกณฺฐิ : (อิต.) ความกระสัน, ความกระสันขึ้น.
  47. อุกฺกณฺณ : ค. มีหูชัน, มีหูตั้งขึ้น
  48. อุกฺกุชฺช : ค. หงาย, หงายขึ้น, ตั้งขึ้น
  49. อุกฺกุชฺชน : (นปุ.) การหงาย. อุปุพฺโพ, กุชฺชฺ อโธมุขีกรเณ, ยุ. อุกฺกุฏน อุกฺโกฏน (ปุ., นปุ.?) การยกขึ้น, การเผยขึ้น, การเลิกขึ้น, การรื้อฟื้น.
  50. อุกฺกุชฺเชติ : ก. หงาย, ให้ตั้งขึ้น, เปิดเผย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-794

(0.0815 sec)