Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เมืองขึ้น, เมือง, ขึ้น , then ขน, ขึ้น, มอง, เมือง, เมืองขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เมืองขึ้น, 794 found, display 51-100
  1. โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
  2. โกสินารก : ค., ป. ผู้อาศัยอยู่ในเมืองกุสินารา; ชาวเมืองกุสินารา
  3. ขลภณฺฑกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำซึ่งลอมในลาน, กาลเป็นที่กระทำซึ่งข้าวเป็นต้นให้เป็นลอม ในลาน. ลอม คือ การตะล่อมของให้สูง ขึ้นเป็นจอม.
  4. ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
  5. ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
  6. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  7. คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
  8. คณิกา : อิต. ๑. หญิงงามเมือง, หญิงเพศยา; ๒. ดู คณนา
  9. คณิ คณี โคกณฺณ : (ปุ.) กวาง. ละมั่งก็แปล. งามเมือง, หญิงแพศยา (หญิงหากินใน ทางค้าประเวณี).
  10. คเณรุ : อิต. หญิงงามเมือง, หญิงแพศยา; ช้างพัง
  11. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  12. คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
  13. คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
  14. เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
  15. โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
  16. โคธุม : (ปุ.) โคธุมะ ชื่อพืชจำพวกข้าวอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง, ข้าวละมาน ชื่อข้าวป่า ชนิดหนึ่งขึ้นแซมต้นข้าว ข้าวนก ก็เรียก. คุธฺ ปริเวธเน, อุโม. เป็น โคธูม ก็มี.
  17. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  18. ฆรกูฏ : (นปุ.) ช่อฟ้า ชื่อตัวไม้ที่ติดอยู่เบื้อง บนของหน้าบัน รูปร่างเหมือนหัวนาค ชู ขึ้นเบื้องบน.
  19. จกฺกสมารูฬฺห : ค. ผู้ขึ้นแล้วสู่ล้อ, ผู้ขึ้นแล้วสู่ยาน, ผู้ขึ้นขี่รถแล้ว
  20. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  21. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  22. จมฺปก : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, จัมปกะ ชื่อเมืองในแคว้นมคธ.
  23. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  24. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  25. จิตฺตุปฺปาท : (ปุ.) การยังจิตให้เกิดขึ้น, การบัง เกิดขึ้นแห่งจิต. ความบังเกิดขึ้นแห่งจิต, ความบังเกิดขึ้นแห่งความคิด.
  26. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  27. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  28. จีน : (ปุ.) ผ้าเมืองจีน, จีนะ ชื่อเนื้อชนิดหนึ่ง.
  29. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  30. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  31. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  32. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  33. ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
  34. ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
  35. ชคตีรุห : (ปุ.) ต้นไม้ (ขึ้นที่แผ่นดิน).
  36. ชฎุล : (ปุ.?) ขี้แมลงวัน ( จุดดำเล็กๆที่ขึ้นตาม ผิวหนัง ), ไฝ, กระ (จุดดำเล็กๆมีสีต่างๆ กัน ). ชฏฺ สงฺฆาเต, อุโล. ส. ชฏุล.
  37. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  38. ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
  39. ชนปเทส : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ในชนบท, จอมชนบท, เจ้าเมือง วิ. ชนปเท อีโส ชนปเทโส.
  40. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  41. ชมฺภติ : ก. หาว, บิดกาย, เอี้ยวกาย; ลุกขึ้น, เดินไป
  42. ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
  43. ชุณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายสว่าง, ฝ่ายขาว, ปักษ์ สว่าง, ปักษ์ขาว, ข้างขึ้น.
  44. ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
  45. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  46. ฐานีย : ๑. นป. พระนคร, เมืองหลวง; ๒. ค. อันควรแก่การตั้งใจ, อันควรแก่ตำแหน่ง
  47. ฐานุปฺปตฺติ : อิต. การเกิดขึ้นโดยฉับพลัน
  48. ฑียน : นป. การบิน, การลอยขึ้น
  49. ตกฺกวฑฺฒน : นป. การยังความดำริให้เจริญหรือมากขึ้น
  50. ตณฺหาสมุทย : นป. เหตุเกิดขึ้นแห่งตัณหา
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-794

(0.0678 sec)