Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยา , then , ยะ, ยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยา, 1057 found, display 1-50
  1. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  2. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  3. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  4. ยาจนก : ค. ซึ่งขอ, ผู้ขอ
  5. ยาจนา : (อิต.) การขอ, การขอร้อง, การร้องขอ, การวิงวอน. ยาจฺ ยาจเน, อ, ยุ.
  6. ยาจิต : กิต.ขอ, ขอร้อง, อ้อนวอนแล้ว
  7. ยาจิตก : นป. ของที่ยืมมา
  8. ยาเชติ : ก. ให้บูชายัญ, อ้อนวอนให้ทำการบูชายัญ
  9. ยาติ : ก. ไป, ดำเนินไป, ก้าวไป
  10. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  11. ยาถาวโต : ก. วิ. โดยแน่นอน, โดยแน่แท้, อย่างจริงแท้
  12. ยานิก, - นิย : ค. ซึ่งนำไป, ซึ่งพาไป
  13. ยานีกต : ค. ทำให้ชำนาญแล้ว, ทำให้เคยชินแล้ว
  14. ยานึกต : (วิ.) กระทำให้เป็นยานแล้ว.
  15. ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
  16. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  17. ยาปนีย : (วิ.) พึงยัง...ให้เป็นไป, ฯลฯ.
  18. ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
  19. ยาวก : (ปุ.) ครั่ง. ยุ มิสฺสเน, ณฺวุ.
  20. ยาวกีว : (อัพ. นิบาต) เพียงใด, เพียงไร.
  21. ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
  22. ยาทิส ยาทิกฺข ยาริส ยาที : (วิ.) ผู้เช่นใด, ฯลฯ. วิ. ย มิว นํ ปสฺสติ โย วิย ทิสฺสตีติ วา ยาทิโส ยาทิกฺโข วา ยารฺโส วา ยาที วา. รูปฯ ๕๗๒.
  23. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  24. ขตฺติยา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดินผู้หญิง. วิ. ขตฺติยสฺส อปจฺจํ ขตฺติยา. ณ ปัจ. อา อิต.
  25. ฉพฺยาปุตฺต : (ปุ.) ฉัพยาบุตร ชื่อตระกูลช้าง ชื่อพญานาคราช.
  26. ติยามา : (อิต.) กลางคืน วิ. ตโย ยามา เอตฺถาติ ติยามา.
  27. นิยฺยาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเตติ
  28. นียาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเทติ
  29. นียานิก : ค. ดู นิยฺยานิก
  30. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  31. ยาจก ยาจนก : (ปุ.) คนขอทาน วิ. ยาจตีติ ยาจโก. ณฺวุปัจ. ยาจนํ กโรตีติ ยาจนโก. กฺวิปัจ. ลบที่ธาตุ หรือ ยาจฺ ธาตุ ยุ ปัจ. ก สกัด อภิฯ.
  32. สีหเสยฺยา : (อิต.) การนอนราวกะว่าสีหะ, สีหเสยยา สีหไสยา คือ การนอนตะแคงขวา.
  33. ยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  34. อกฺขฺยา : (อิต.) ชื่อ, นาม.อาปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, อ, อิตฺถิยํ อา, รสฺโส, กฺสํโยโค.
  35. อคท : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่เป็นปฏิปักษ์แก่โรค, ยา, ยาประเสริฐ. วิ. โค วุจฺจติ ทุกฺขํ, ตํเทติ คโท, โรโค; น วิชฺชเต คโท ยสฺมึ โสอคโท. ส. อคท.
  36. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  37. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  38. อภยา : (อิต.) สมอ, ต้นสมอ.วิ.นวิชฺชเตโรคภยํโรคฏฺฐาเนปยุชฺชมานายมสฺสมิติอภยา.
  39. อภิกฺขฺยาอภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี.อภิปุพฺโพ, ขฺยาปกาสเน, กฺวิ.
  40. อภิกฺขฺยา อภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี. อภิปุพฺโพ, ขฺยา ปกาสเน, กฺวิ.
  41. อภิวฺยาเปติ : ก. ดู อภิพฺยาเปติ
  42. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  43. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  44. เสยฺยา : (อิต.) การนอน, ที่นอน, ไสยา. สึ สเย, โย. แปลง อี เป็น เอ ย เป็น ยฺย รูปฯ ๖๔๕.
  45. กณฺฑูยา : อิต. การเกา, การข่วน
  46. กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
  47. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  48. กายานุปสฺสนา : (อิต.) การพิจารณาเนือง ๆ ในกาย, การพิจารณาเนือง ๆ ซึ่งกาย, การกำหนดพิจารณากาย.
  49. กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
  50. กายานุปสฺสี : ป. ผู้พิจารณาเห็นกายในกายเป็นนิตย์, ผู้ตั้งสติกำหนดกาย
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1057

(0.0885 sec)