Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยโส , then ยส, ยสะ, ยโส .

Eng-Thai Lexitron Dict : ยโส, more than 7 found, display 1-7
  1. loftily : (ADV) ; หยิ่ง ; Related:ยโส ; Syn:arrogant, haughty
  2. highhanded : (ADJ) ; ยโสโอหัง ; Related:ไม่คิดถึงจิตใจคนอื่น ; Syn:arrogant, overbearing
  3. high-handed : (ADJ) ; ยโสโอหัง ; Related:ไม่คิดถึงจิตใจคนอื่น ; Syn:arrogant, overbearing
  4. highfalutin : (ADJ) ; หยิ่ง ; Related:ยโส, โอหัง ; Syn:grandiose, pompous, pretentious ; Ant:humble
  5. highfaluting : (ADJ) ; หยิ่ง ; Related:ยโส, โอหัง ; Syn:grandiose, pompous, pretentious ; Ant:humble
  6. sassy : (ADJ) ; โอหัง ; Related:ยโส, หยาบคาย ; Syn:rude
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ยโส, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ยโส, 9 found, display 1-9
  1. ยโส : (ADJ) ; arrogant ; Related:self-important, conceited, haughty, disdainful, overbearing ; Syn:หยิ่ง, หยิ่งยโส, โอหัง, เย่อหยิ่ง, จองหอง ; Def:ที่มีนิสัยเย่อหยิ่งเพราะถือตัวว่ามียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกำลัง มีทรัพย์ เป็นต้น ; Samp:เธอมีท่าทางยโสจนใครๆ ก็พากันหมั่นไส้เธอ
  2. ยโส : (V) ; be arrogant ; Related:be conceited, be proud, be haughty ; Syn:หยิ่ง, หยิ่งยโส, โอหัง, ถือตัว, เย่อหยิ่ง, จองหอง ; Def:เย่อหยิ่งเพราะถือตัวว่ามียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกำลัง มีทรัพย์ เป็นต้น ; Samp:เขายโสหนักขึ้นทุกทีเพราะมีตำแหน่งหน้าที่ที่สูงขึ้นกว่าคนอื่น
  3. หยิ่งยโส : (V) ; be self-important ; Related:think highly of oneself ; Syn:ยโส, ทะนงตัว, ถือตัว, เย่อหยิ่ง, อวดดี, จองหอง, โอหัง, ยโสโอหัง ; Ant:ถ่อมตัว ; Def:จองหอง อวดดี เย่อหยิ่ง เพราะถือว่าตัวมียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกำลัง มีทรัพย์ ; Samp:ข้าราชการมิใช่ว่าจะหยิ่งยโสไปทั้งหมด
  4. โอหัง : (V) ; be conceited ; Related:be arrogant ; Syn:ผยอง, ยโส, จองหอง ; Ant:อ่อนน้อม, ถ่อมตน ; Def:แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส
  5. โอหัง : (ADJ) ; conceited ; Related:arrogant ; Syn:ผยอง, ยโส, จองหอง ; Ant:อ่อนน้อม, ถ่อมตน ; Def:แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส
  6. หยิ่งยะโส : (V) ; be too proud ; Related:be stuck up ; Syn:หยิ่ง, หยิ่งยโส, ยโส, ทะนง ; Ant:อ่อนน้อม, ถ่อมตัว, ถ่อมตน ; Def:ทะนงว่าตนมีดี ; Samp:ฉันเกลียดดาราคนนั้นมากเพราะเขาหยิ่งยะโส ดูถูกคนอื่น
  7. หยิ่งยะโส : (ADJ) ; arrogant ; Related:haughty, disdainful, supercilious ; Syn:หยิ่ง, หยิ่งยโส, ยโส, ทะนง ; Ant:อ่อนน้อม, ถ่อมตัว, ถ่อมตน ; Def:ทะนงว่าตนมีดี ; Samp:เขาเป็นคนหยิ่งยะโส แข็งกระด้าง อวดดี ใครๆ ก็เกลียดชังเขาทั้งนั้น
  8. ทะนงตัว : (V) ; be proud ; Related:be proud oneself, be self-confident ; Syn:ทระนงตัว, หยิ่งยโส, ถือตัว ; Ant:ถ่อมตัว, เจียมตัว ; Def:ถือดีในตัวของตัว ; Samp:เขาไม่ทะนงตัว ไม่เอาความใหญ่ของตนไปกดขี่ข่มเหงผู้อื่น
  9. ทำเบ่ง : (V) ; put on airs ; Related:swagger, be snobbish, be stuck-up, act big, be pretentious ; Syn:วางท่า, จองหอง, ยโสโอหัง, วางก้าม ; Def:วางท่าอวดอำนาจ ; Samp:เขาทำเบ่งแต่ก็ไม่เห็นมีใครจะกลัว

Royal Institute Thai-Thai Dict : ยโส, 5 found, display 1-5
  1. ยโส : ก. เย่อหยิ่งเพราะถือตัวว่ามียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกําลัง มีทรัพย์ ฯลฯ.
  2. เย่อหยิ่ง : ว. จองหองเกินฐานะ, แสดงอาการยโสโอ้อวด, ถือตัว, อวดดี.
  3. ลำพอง : ว. ฮึกห้าว, แสดงอาการหยิ่งยโส, เช่น ทำลำพอง ใจลำพอง.
  4. โอหัง : ก. แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส.
  5. ยศ : [ยด] น. ความยกย่องนับถือเกียรติของตน, เกียรติคุณ, ฐานันดรที่ พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีสูง ต่ำตามลำดับกันไป; เครื่องหมายพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่ผู้มีฐานันดร มีสูงต่ำตามลำดับกันไป, เครื่องกําหนดหมายฐานะหรือชั้นของบุคคล. ว. ที่แสดงฐานะหรือชั้น เช่น พัดยศ. (ส.; ป. ยส).

Budhism Thai-Thai Dict : ยโส, more than 5 found, display 1-5
  1. ยโสชะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรหัวหน้าชาวประมง ใกล้ประตูเมืองสาวัตถี ได้ฟังพระธรรมเทศนากปิลสูตร ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง มีความเลื่อมใสขอบวช ต่อมาไปเจริญสมณธรรมที่ฝั่งแม่น้ำวัคคุมุทา ได้สำเร็จพระอรหัต
  2. ยโสธรา : 1.เจ้าหญิงศากยวงศ์ เป็นพระราชบุตรีของพระเจ้าชยเสนะ เป็นพระมเหสีของพระเจ้าอัญชนะผู้ครองกรุงเทวทหะ เป็นพระมารดาของพระนางสิริมหามายา และพระนางปชาบดีโคตมี 2.อีกชื่อหนึ่งว่าพิมพา เป็นเจ้าหญิงแห่งเทวทหนคร เป็นพระราชบุตรีของพระเจ้าสุปปพุทธะ เป็นพระชายาของพระสิทธัตถะ เป็นมารดาของพระราหุล ต่อมาออกบวช เรียกชื่อว่า พระภัททา กัจจานา
  3. ยส : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีมีความเป็นอยู่อย่างสุขสมบูรณ์ วันหนึ่งเห็นสภาพในห้องนอนของตน เป็นเหมือนป่าช้า เกิดความสลดใจคิดเบื่อหน่าย จึงออกจากบ้านไปพบพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ในเวลาใกล้รุ่ง พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาอนุปุพพีกถา และอริยสัจโปรด ยสกุลบุตรได้ดวงตาเห็นธรรม ต่อมาได้ฟังธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่เศรษฐีบิดาของตน ก็ได้บรรลุอรหัตตผลแล้วขออุปสมบท เป็นภิกษุสาวกองค์ที่ ๖ ของพระพุทธเจ้า
  4. ยสะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีมีความเป็นอยู่อย่างสุขสมบูรณ์ วันหนึ่งเห็นสภาพในห้องนอนของตน เป็นเหมือนป่าช้า เกิดความสลดใจคิดเบื่อหน่าย จึงออกจากบ้านไปพบพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ในเวลาใกล้รุ่ง พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาอนุปุพพีกถา และอริยสัจโปรด ยสกุลบุตรได้ดวงตาเห็นธรรม ต่อมาได้ฟังธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่เศรษฐีบิดาของตน ก็ได้บรรลุอรหัตตผลแล้วขออุปสมบท เป็นภิกษุสาวกองค์ที่ ๖ ของพระพุทธเจ้า
  5. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ บางทีเรียกอนุพุทธ ๘๐ องค์ มีรายนามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน คือท่านที่เป็นเอตทัคคะด้วย): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทายี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, คยากัสสป, ควัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเตยย, โตเทยย, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาคิต, นาลก, ปิงคิย, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรียก), พาหิย ทารุนีริย, ภคุ, ภัททิย (ศากยะ), ภัททิย, ภัทราวุธ, มหากัจจายน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมคคัลลาน, เมฆิย, เมตตคู, โมฆราช, ยส, ยโสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิย, ลกุณฏกภัททิย, วักกลิ, วังคีส, วัปป, วิมล, สภิย, สาคต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องคุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุทย, อุทายี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวลกัสสป
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ยโส, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยโส, more than 5 found, display 1-5
  1. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  2. ยโสโภคสมปฺปิต : (วิ.) ผู้มียศและโภคะอันถึงพร้อมแล้ว, ผู้เพรียบพร้อมแล้วด้วยยศและโภคะ.
  3. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  4. กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
  5. ยสสฺสี : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสสฺสี. ยส+สี ปัจ. แปลง ส เป็น สฺส. เป็น ยสสี โดยไม่แปลง ส บ้าง.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ยโส, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ยโส, not found

(0.1189 sec)