Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1001-1050
  1. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  2. อุจฺฉุ : (ปุ.) อ้อย วิ. อุสติ สนฺตาปนนฺติ อุจฺฉุ. อุสฺ ทาเห, อุ, สสฺส จฺโฉ. อิสุ อิจฺฉายํ วา, อุ, อุสฺสุ, สสฺส โฉ, อสรูปทฺวิตฺตํ. ส. อักฺษว.
  3. อุตฺตมค อุตฺตมงฺค : (นปุ.) อวัยวะสูงสุด, หัว, ศรีษะ. วิ. องฺเคสุ อุตฺตมํคตฺตา อุตฺตมํคํ. อุตฺตมํ จ ตํ อํคํ จาติ วา อุตฺตมํคํ วา. ส. อุตฺตมางฺค.
  4. อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ  ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
  5. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  6. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  7. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  8. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  9. อุปริม : (วิ.) มีในเบื้องบน, เกิดในเบื้องบน. วิ. อุปริ ภโว ชาโต วา อุปริโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  10. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  11. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  12. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  13. อุพฺพี : (อิต.) แผ่นดิน. วิ. อวติ ภูตานีติ อุพฺพี. อวฺ ปาลเน, อ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี. วิถิณฺณตฺตาวา อุพฺพี.
  14. อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
  15. อุสฺสารณ : (ปุ.) ตำรวจหวาย. อุปุพฺโพ, สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, ยุ.
  16. อุฬารตฺต : นป. ดู อุฬารตา
  17. เอกกฺขี : ค. ผู้มีตาข้างเดียว
  18. เอกนิมฺมิลนมตฺต : (วิ.) ชั่วกระพริบตา.
  19. โอกฺขิตฺตจกฺขุ : (วิ.) มีตาทอดลงแล้ว, มีตา ทอดลง.
  20. โอคุห : ป. เต่า
  21. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  22. โอปปาติก : (วิ.) ผูดเกิดขึ้นดุจลอยมาเกิด, ผู้ลอยมาเกิด. วิ. อณฺฑชลาพุสํเสเทหิวินา อุปติตฺวา วิย นิพฺพตฺตาติ โอปปาติกา.
  23. ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
  24. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  25. ตทุเปตนิสา : (อิต.) คืนเดือนหงาย, คืนที่ค้น หาสิ่งที่ต้องการนั้นได้. ต+อุเปต+นิสา ทฺ อาคม.
  26. สุตฺตนุต : (นปุ.) สุตตันตะ พระสูตร ชื่อพระพุทธวจนะปิฎกที่ ๒ ใน ๓ ปิฎก. สุตฺต+อนฺตสกัด เพื่อให้ศัพท์สละสลวย. สุตฺตํ เอว สุตฺตนฺตํ. เวสฯ ๓๐๖.
  27. ตโปทา : (อิต.) ตโปทา ชื่อแม่น้ำในเขตเมือง ราชคฤห์.
  28. ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
  29. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  30. ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
  31. ตจรส : ป. รสอันเกิดแต่เปลือก, รสของเปลือก
  32. ตจุจริต : ค. ดู ตคฺครุก
  33. ตจุพฺภว : ค. อันเกิดแต่เปลือกไม้, ทำจากเปลือกไม้
  34. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  35. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  36. ตโตปฏฺฐาย : อ. จำเดิมแต่นั้น, ตั้งแต่นั้น
  37. ตโตปร : อ. เบื้องหน้าแต่นั้น, ตั้งแต่นั้นมา
  38. ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
  39. ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
  40. ตถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างนั้น, ฯลฯ, มีอย่างนั้น เป็นรูป, ฯลฯ.
  41. ตถาวาที : ค. ผู้กล่าวเช่นนั้น, กล่าวอย่างนั้น
  42. ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
  43. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  44. ตทนฺตเร : ก. วิ. ในระหว่างนั้น
  45. ตทนุรูป : ค. สมควรแก่สิ่งนั้น, เหมาะสม
  46. ตทาตฺต : นป. กาลนั้น, เวลานั้น
  47. ตทานิ : อ. ดู ตทา
  48. ตทารมฺมณ : นป. อารมณ์นั้น
  49. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  50. ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | [1001-1050] | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0784 sec)