Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 851-900
  1. ภทฺททารุ : (ปุ.) เทพทาโร, ไม้เทพทาโร. วิ. เทวานํ ตนุภูตตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ ทารุ เจติ ภทฺททารุ.
  2. ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
  3. ภรณี : (อิต.) ภรณี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒ มี ๓ ดวง, ดาวก้อนเส้า. วิ. ยมสทิส-ตฺตา สพฺพตฺร ภรตีติ ภรณี. ภรฺ โปสเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
  4. ภิงฺก : (ปุ.) ช้างรุ่น วิ. มาตาปิตูหิ ภริตพฺพตฺตา ภิงฺโก. ภรฺ โปสเน, อ. แปลง ภร เป็น ภิงฺก. แปลว่า กบ เขียด ก็มี.
  5. ภิมฺทน : (นปุ.) อันแตก, ฯลฯ. ภิทิ เภทเน, ยุ, นิคฺคหิตา-คโม.
  6. มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
  7. มจฺฉณฺฑี : (อิต.) น้ำอ้อย (เช่นกับฟองปลา). มจฺฉณฺฑ-สทิสตฺตา มจฺฉณฺฑี. น้ำตาลทราย (ให้สุกมาจากรสวิเศษของอ้อย).
  8. มญฺชูสา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง, หีบ. วิ. มญฺญติ สธนตฺตํ เอตายาติ มญฺชูสา. มนฺ ญาเน, โส, ชู มชฺเฌ, อิตฺถิยํ อา. เป็น มญฺชุสา ก็มี.
  9. มตฺติกา : (อิต.) ดิน, ดินเหนียว. วิ. ปเทสกตฺตา มตฺเตน ปมาเณน ยุตฺตา มตฺติกา.
  10. มธุรตฺต : นป., มธุรตา อิต. ความหวาน
  11. มนุสฺสชาติย : (วิ.) ผู้เกิดแล้วโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติแห่งมนุษย์, ผู้เกิดโดยชาติมนุษย์. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  12. มสารคลฺล : (นปุ.) แก้วลาย, แก้วตาแมว, เพชรตาแมว, แก้วที่เกิดในภูเขาชื่อ มสาระ. วิ. มสารคิริมฺหึ ชาตํ มสารคลฺลํ. ล ปัจ. แปลง ริ เป็น ลิ ลบ อิ. ไตร. ๓๐ ข้อ ๗๖๒ เป็น ปุ.
  13. มหานรก : (ปุ.) นรกใหญ่, มหานรก. มหานรก มี ๘ ขุม คือ สัญชีวนรก ๑ กาฬสุตตนรก ๑ สังฆาตนรก ๑ โรรุวนรก ๑ มหาโรรุวนรก ๑ ตาปนรก ๑ มหาตาปนรก ๑ อวีจีนรก ๑
  14. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  15. มหารญฺญ : (นปุ.) ป่าใหญ่, ป่าไม้ใหญ่, ดง. วิ. มหาทุมลตาวนํ มหารญฺญ. มหนฺตญฺจ ตํอรญฺญ เจติ มหารญฺญ.
  16. มหาวิเรก : (ปุ.) โรคลงท้อง, โรคท้องร่วง. วิ. พหุโส สรณตฺตา มหนฺโต วิเรโก มหาวิโรโก.
  17. มโหสธ : (นปุ.) ขิง, ขิงแห้ง. วิ. ติกฺขรสตฺตา มหนฺตํ โอสธํ มโหสธํ. ชะเอมต้น วิ. มหาวิริยํ โอสธํ มโหสธํ.
  18. มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
  19. มาตามหยฺยิกา : (อิต.) ยายทวด (แม่ของตา แม่ของยาย).
  20. มิคตณฺหิกา : (อิต.) พยับแดด. วิ. มิคานํ ตณฺหา ปิปาสา ยสฺสํ ชลาภาสตฺตา สา มิคตณฺหิกา. อิก ปัจ. อา อิต.
  21. มุตฺติก : (นปุ.) แก้วมุกดา, ไข่มุก. มุตฺตาเอว มุตฺติกํ. ก สกัด อิ อาคม.
  22. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  23. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  24. มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
  25. เมหน : (นปุ.) อวัยวะอันมีในที่ลับ, อวัยวะสำหรับหลั่งมูตร, อวัยวะสำหรับหลั่งโลหิต, นิมิตรของบุรุษ, นิมิตรของสตรี, ของลับของบุรุษ, ของลับของสตรี. วิ. มิหติ เรตมุตฺตานิ อเนนาติ เมหนํ. มิหฺ เสจเน, ยุ.
  26. ยญฺญงฺค : (ปุ.) มะเดื่อ, มะเดื่อชุมพร. วิ. ยญฺญกมฺมาน มงฺโค เอกงฺคตฺตา ยญฺญงฺโค.
  27. ยฏิฐมธุกา : (อิต.) ชะเอมเครือ วิ. ทณฺฑาการ ตฺตา ยฏฺฐ จ สา มธุรสตฺตา มธุกา เจติ ยัฏฺฐมธุกา.
  28. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  29. โยนิ : (ปุ.) ปัสสาวมรรคของหญิง, นิมิตของหญิง, ของลับของหญิง, โยนี. วิ. ยวนฺติ สตฺตา อเนน เอกีภาวํ คจฺฉนฺตีติ โยนิ. ยุ คติยํ, นิ. ยวนฺติ สุกฺกโสณิตา เอเตนาติ วา โยนิ. ยุ มิสฺสเน, นิ. แปลว่า เหตุ ก็มี.
  30. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  31. รสญฺชน : นป. ยาล้างตาชนิดหนึ่ง
  32. รสิ : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รังสิ, รังสี, รัศมี. วิ. รสนฺติ ตํ สตฺตาติ รํสิ. รสฺ อสฺสาทเน, อิ, นิคฺคหิตคโม.
  33. รูป : นป. รูป, ร่างกาย, อารมณ์ที่พึงรู้ด้วยตา
  34. โลจน : นป. ตา, จักษุ
  35. วสวณฺณ : ป. แก้วไพฑรูย์, เพชรตาแมว
  36. เวฬุริย : นป. แก้วไพฑรูย์, เพชรตาแมว
  37. สกฺขี : ป. พยานเห็นกับตา, สักขีพยาน
  38. สนฺนกทฺทุ : (ปุ.) มะหาด ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ ผลคล้ายมะปราง วิ. สนฺนกา ตาปสา, เตสํ ทุโม สนฺนกทฺทุ. มฺโลโป ทฺสํโยโค.
  39. สปตฺต : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู, ปรปักษ์. วิ. ทุกฺข-เหตุตฺตา สปตฺตี อิวาติ สปตฺโต. สกาโร รกฺขเส, โส วิย รกฺขโส วิย อญฺญฺมฺฺญฺญํ อหิตาสุขํ ปาเปตีติ สปตฺโต.
  40. สพฺพภมฺม : (ปุ.) จักรพรรดิราช, พระเจ้าจักรพรรดิ. วิ. สพฺพภูมิยา อิสฺสโร สพฺพภุมฺโม. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท.
  41. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  42. สมญฺญา : (อิต.) นาม, ชื่อ, สมัญญา, สมญา, สมเญศ. วิ. สมฺมา อาชานาติ สมํ ชานาติ เอตายาติ สมญฺญา สํปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ.
  43. สมณุทฺเทศ : (ปุ.) สามเณร วิ. สมณลิงฺคาจารฺตฺตา สมโณ อยนฺติ อุทฺทิสิตพฺโพติ สมณุเททฺโส.
  44. สมฺปทา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ฯลฯ, ความเจริญ, สมบัติ. วิ. สมฺปชฺชติ เอตายาติ สมฺปทา สมฺปชฺชนํ วา สมฺปทา.
  45. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  46. สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชนี : (อิต.) ไม้กวาด, ไม้กราด. วิ. วสมฺมุญฺชติ เอตายาติ สมฺมุชฺชนี สมฺมุญฺชน วา. สํปุพฺโพ, มุชิ โสธเน, ยุ, อิตุถิยํ อี.
  47. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  48. สมุห สมูห : (ปุ.) ฝูง, ฯลฯ, กลุ่ม, ชุมนุม. วิ. สมฺมา วิเสเสน จ อูหเต ปุญฺชีภูตตฺตาติ สมุโห สมูโห วา. สมํ สหาวยเวน อูหตีติ วา สมุโห สมูโห วา. อูหฺ ปฐเน, อ. ศัพท์ต้นรัสสะ. ส, สมูห.
  49. สรก : (ปุ.) ขัน, จอก, กระบวย. วิ. สรฺติ อุทก เมตฺถาติ สรโก. สรฺ คติจินฺตาหึสาสุ, ณวุ.
  50. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0739 sec)