Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1601-1650
  1. ขุทฺทกนิกาย : ป. ขุททกนิกาย, ชื่อคัมภีร์หมวดที่ห้าแห่งสุตตันตปิฎก
  2. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  3. คนฺธิก : (วิ.) มีกลิ่น. วิ. คนฺโธ อสฺส อตฺถีติ คนฺธิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ลง ณิก ปัจ. ผู้มีของหอมเป็นสินค้า วิ. คนฺโธ อสฺส ภณฺฑนติ คนฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  4. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  5. คึคมก คิงฺคมก : (นปุ.) เครื่องประดับไหล่, อินทรธนู (อิน ธะนู). คมฺ คติยํ, ณฺวุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺสิตฺต, นิคฺคหิตาคโม.
  6. คุตฺติ : (อิต.) การคุ้มครอง, การปกครอง, การเลี้ยงดู, การรักษา, ความคุ้มครอง, ฯลฯ. วิ. โคปยเตติ คุตฺติ. คุปฺ โคปเน, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ปฺ หรือไม่แปลง ติ แปลง มฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  7. เคธิกต : ค. อันอิสสา, อันริษยาในคำว่า “เคธิกตจิตฺต”
  8. โคลีส : (ปุ.) ไม้มวกใหญ่, ไม้สะคร้อ, ไม้ตะ โหนด. วิ. คาโว ลีหนฺตีติ โคลีโส. โคปุพฺ โพ, ลีหฺ อสฺสาทเน, อ, หสฺสโส.
  9. โคฬปตฺต : (นปุ.) กระหล่ำปลี.เบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, ณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  10. ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
  11. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  12. จตุกฺกงฺคุตฺตร : (ปุ.) จตุกกนิบาต, อังคุตตรนิ- กาย.
  13. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  14. จมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยหนัง, หุ้มด้วยหนัง, สรวมเกราะ, ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  15. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  16. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  17. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  18. จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  19. จิตฺตกูฎ : (ปุ.) จิตตกูฎ ชื่อยอดภูผา ยอด ๑ ใน ๖ ยอด ของภูเขาหิมาลัย. วิจิตฺตกูฎยุตฺตตาย จิตฺตกูโฏ.
  20. จิตฺตสฺส จิตฺรสฺส : (ปุ.) ม้าลาย. จิตฺต, จิตฺร + อสฺส.
  21. เจตสิก : (วิ.) อันเป็นไปในจิต วิ. เจตสิ สํวตฺตตีติ เจตสิโก. อันประกอบในจิต วิ. เจตสิ นิยุตฺโต เจตสิโก. อันมีในจิต วิ. เจตสิ ภวํ เจตสิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  22. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  23. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  24. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  25. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  26. ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
  27. ชีมูต : (ปุ.) ชีมูตะ ชื่อเมฆชื่อ ๑ ใน ๑๑ ชื่อ, เมฆ. วิ. ชีวนํ ชลํ มูตํพทฺธ มเนนาติ ชีมูโต, วนโลโป. โลกานํ วา ชีวิตํ มุนาตีติ ชีมูโต. วิตโลโป, ชีวิตสฺส ชีอาเทโส วา, มุ พนฺธเน , โต, ทีโฆ. สัททนีติ วิ. ชีวนสฺส มูโต ชีมูโต.
  28. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  29. ฌลิ : (นปุ.) ลูกอารกานัต, ลูกอเรกานัต ?
  30. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  31. ญาณจกฺขุ : (นปุ.) ญาณจักขุได้แก่อรหัตต – มัคคญาณ.
  32. ตกฺก : (ปุ.) ความตริ, ความตรึก, ความคิด, ความนึก, ความวิตก (ตรึก). วิ. ตกฺเกติ สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมณมฺหิ โรเปตีติ ตกฺโก. ตกฺกฺ วิตกฺเก, อ.
  33. ตกฺกร : (ปุ.) โจร. ขโมย. วิ. ตํ กโรตีติ ตกฺกโร. ตปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. เถยฺยตฺถํ วา ตกฺกยตีติ ตกฺกโร. ตกฺก วิตกฺเก, อโร.
  34. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  35. ตตฺต : (ปุ.) แดด. ตปฺ ทาเห, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ
  36. ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
  37. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  38. ตปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. วิ. ตปนํ ทาห ทหรตีติ ตปนียํ. ตปนศัพท์ อนีย ปัจ. ลบ น ท้ายศัพท์.
  39. ตร : (ปุ.) แพ วิ. ตรติ อเนนาติ ตโร. ตรฺ ตรเณ, อ.
  40. ตรงฺค : (ปุ.) ระลอกคลื่น ลูกคลื่น (กลิ้งไป). วิ. ตรนฺโต คจฺฉตีติ ตรงฺโค. ตีรํ คจฺฉตีติ วา ตรงฺโค. ตีร+คมฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อี เป็น อ.
  41. ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
  42. ตรุ : (ปุ.) ต้นไม้, กอไม้. วิ. ตรนฺติ อเนนาติ ตรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่มีฆะ.
  43. ตสร : (ปุ.) หลอด, การพัฏหลอด, ( พัฏ แผลง มาจาก วัฏ), กระสวย, กระสวยทอผ้า. วิ. ตสติ ถยํ คณฺหาตีติ ตสโร. ตสฺ อุพฺเพเค, อโร. การทอผ้า หูก ก็แปล. ส. ตรฺสร.
  44. ตามฺพูล : (ปุ.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  45. ตามพูลี : (อิต.) พลู วิ. ตมฺพวณฺณํ ลาตีติ ตามพูสี. อถวา, มุขํ ตเมตีติ ตมฺพูลํ ตมฺ ภูสเน, พูโล. ตมฺพูลสฺส อยํ ตามฺพูลี. ส. ตมฺพูล หมาก.
  46. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  47. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  48. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  49. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  50. ติปุฏา : (อิต.) จิงจ้อ ชื่อไม้เถาในสกุลผักทอด ยอดมีหลายชนิด ใช้ทำยาไทย. วิ. ติสฺโส ปุฏา ตจราชิโย อสฺสาติ ติปุฏา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | [1601-1650] | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0692 sec)