Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 801-850
  1. นิตฺถาเรติ : ก. ดู นิตฺตาเรติ
  2. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  3. นิพฺพิเสวน : (วิ.) มีอันเสพผิดไปปราศแล้ว วิ. นิคฺคตา วิเสวนา ยสฺส ตํ นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ).
  4. นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
  5. นิมิส : ป. การกระพริบตา, การหลับตา
  6. นิมิสติ : ก. การกระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  7. นิมิส นิมฺมิส นิมฺมิสน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, นิสฺ นิมฺมิสเน, อ.
  8. นิมีลติ : ก. กระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  9. นิมีลิต : ค. ซึ่งกระพริบตาแล้ว, ซึ่งหลับตาแล้ว, อันปิดตาแล้ว
  10. นิลญจก นิลญฉก : (ปุ.) คมผู้หมายลง, คน ประทับตา, คนผู้ทำรูป, คนผู้ทำรูปสัตว์. นิปุพฺโพ, ลญจฺ ลญฉฺ ลกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.
  11. ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
  12. ปตฺตุณฺณ : (นปุ.) ผ้าโกเสยยะที่ซักแล้ว โกเสยฺย เมว โธตํ ปตฺตุณณํ นาม. เมืองแขก, ผ้าเมืองแขก, ผ้าที่เกิดในเมืองปัตตุณณรัฐ วิ. ปตฺตุณฺณรฏฺเฐ ชาตตฺตา ปตฺตุณฺณํ.
  13. ปท : (นปุ.) ปทะ ชื่อของพระนิพพาน, พระ นิพพาน. วิ. อริเยหิ ปฏิปชฺชิตพฺพตฺตา คนฺตพฺพตฺตา ปทํ.
  14. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  15. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  16. ปพฺพคณฺฐิ : อิต. ตาที่ข้อ (ไม้ไผ่), แขนงข้างปล้อง (ไม้ไผ่)
  17. ปพฺพเตยฺย : (วิ.) เกิดจากภูเขา, เกิดที่ภูเขา. วิ. ปพฺพตา ปพฺพเต วา ชาติ ปพฺพเตยฺยํ. มีในภูเขา, มีที่ภูเขา. วิ. ปพฺพเต ภวํ ปพฺพเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒.
  18. ปพฺพาเชตา : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันสงฆ์ขับไล่, ผู้ ควรขับไล่. วิ. ปพฺพาเชตุ อรหตีติ ปพฺ พาเชตาโย. ราย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๗.
  19. ปมฺห : (นปุ.) ขนหนังตา, ขนตา, วิ. ปมิโนติ ปมฺหํ. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โห. อมฺ คติยํ วา.
  20. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  21. ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต ภวนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
  22. ปรมนฺน : (นปุ.) ข้าวปายาส ( ข้าวระคนด้วย น้ำนม ) วิ. เทวนฺนตฺตา ปรมญฺจ ตํ อนฺนญฺเจติ ปรมนฺนํ.
  23. ปรายณ ปรายน : (นปุ.) ปรายณะ ปรายนะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปเรหิ อุตฺตเมหิ อริยปุคฺคเลหิ อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ ปรายนํ วา. ปรโต วา. อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ, ปรปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ. ปเรสํ วา อริยปุคฺคลานํ ปติฏฐานตฺตา ปรายณํ.
  24. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  25. ปริตฺตา : (ปุ.) พรหมปริตตาภะ วิ. ปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติ ปริตฺตาภา. เทวดาชั้น ปริตตาภะ, ปริตตาภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๔ ใน ๑๖ ชั้น.
  26. ปโรกฺข : ค. พ้นสายตา, เกินวิสัยของตา
  27. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  28. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  29. ปสูติกา : อิต. ดู ปสูตา
  30. ปาฏิกุลฺย : นป., ปาฏิกฺกุลฺยตา อิต. ความปฏิกูล, ความสกปรกน่าเกลียด
  31. ปิยตฺต : นป., ปิยตา อิต. ความเป็นแห่งสิ่งหรือผู้ซึ่งน่ารักน่าพอใจ
  32. ปีฬิโกฬิกา : อิต. ขี้ตา, สิ่งปฏิกูลซึ่งไหลออกทางตาเป็นปกติ
  33. ปุณฺณตฺต : นป. ดู ปุณฺณตา
  34. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  35. ปุริม : (วิ.) เกิดแล้วในก่อน, เกิดในก่อน, มีในก่อน, มีในเบื้องหน้า, ต้น, เดิม. ปุร+อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  36. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  37. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  38. ปุโลม : (ปุ.) ปุโลมะ ชื่อของไวปจิตตาสูร ชื่อ ๑ ใน ๒ ชื่อ, ไวปจิตตาสูร.
  39. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  40. พลตฺต : นป. ดู พลตา
  41. พหุมานิต : ค. อันเขานับถือแล้วมาก, มีหน้ามีตา
  42. พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
  43. พาหา : (อิต.) แขน วิ. วหติ เอตายาติ พาหา. วหฺ ปาปุณเน, โณ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  44. พาหุช : (ปุ.) กษัตริย์. พฺรหฺมพาหุโต ชาตตฺตา พาหุโช (เกิดจากแขนพระพรหม).
  45. พีชก : ป. หน่อ, ตาต้นไม้, เชื้อแถว, เด็กเล็กๆ
  46. พุทฺธตฺต : นป. ดู พุทฺธตา
  47. พุทฺธภาว : ป. ดู พุทฺธตา
  48. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  49. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  50. ภทฺทกุมฺภ : (ปุ.) หม้ออันเจริญ, หม้อมงคลอันเต็มด้วยน้ำ, หม้อน้ำมงคล, หม้อมงคล. วิ. ชลปุณฺรตฺตา ภทฺโท กุมฺโภ ภทฺทกุมฺโภ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0654 sec)