Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1651-1700
  1. ติรจฺฉ ติรจฺฉาน : (วิ.) เดือนมืด, คืนเดือน มืด. วิ. ติมิสํ อุสฺสนฺนํ เอตถาติ ติมิสิกา ติมีสิกา วา.
  2. ติลปณฺณี : (ปุ.) จันทน์แดง วิ. ติลปฺปมาณ- ปณฺณยุตฺตตาย ติลปณฺณี.
  3. เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. เตลปณฺณิก : (นปุ.) จันทน์เหลือง, จันทน์- เทศ. ติลปณฺณปฺปมาณปตฺตยุตฺตตาย เตลปณฺณิกํ. ณิก ปัจ.
  5. เตลิก : (วิ.) ระคนด้วยงา วิ. ติเลน สํสฏฺฐํ เตลิกํ. มีน้ำมันเป็นสินค้า. วิ. เตลํ อสฺส ภณฺฑนฺ เตลิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  6. ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
  7. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  8. ทสสตสหสฺส : (นปุ.) แสนสิบ, แสนสิบหน, สิบแสน, ล้าน, ล้านหนึ่ง, หนึ่งล้าน. วิ. สตสหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสตสหสฺสํ (การคูณด้วยสิบแห่งแสนชื่อว่าล้าน). ลบ คุณิต แล้วแปร ทส ไว้หน้า . รูปฯ ๔๐๐.
  9. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  10. ทีฆนิกาย : (ปุ.) ทีฆนิกายชื่อคัมภีร์ เป็น คัมภีร์ต้นของพระสุตตันตปิฎก.
  11. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  12. เทฺวฬฺหก : (นปุ.) ความสงสัย วิ. เทฺวธา อิลติ จิตฺต เมเตนาติ เทฺวฬฺหกํ. ทฺวิปุพฺโพ. อิลฺ คติกมฺปเนสุ. โห, ลสฺส ฬคฺคํ. สกคฺเถ โก.
  13. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  14. ธมฺมชาติ : (วิ.) มีตวามเกิดเป็นธรรมดา.
  15. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  16. ธุตฺตี, - ติกา : อิต. ดู ธุตฺต
  17. ธูมายิตตฺต : (วิ.) ปรากฏราวกะว่าควัน วิ. ธูโม วิย ทิสฺสตีติ ธูมายิตตฺตํ. ธูมศัพท์ อายิตตุต ปัจ. กัจฯ ๓๕๗.
  18. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  19. นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
  20. นลาฏ นลาต : (ปุ.) หน้าผาก. นลฺ คนฺเธ, อาโฏ. ศัพท์หลังแปลง ฏ เป็น ต?.
  21. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  22. นวโลกุตฺตร : (นปุ.) ธรรมเหนือโลกเก้า, ธรรมอันยังผู้บรรลุให้พ้นวิสัยของโลกเก้า อย่าง. วิ. นว โลกุตตรา นวโลกุตฺครํ.
  23. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  24. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  25. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  26. นิเกตยน : ค. ดู นิเกตวาสี
  27. นิมนฺต : (ปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  28. นิมนฺตน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  29. ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม; ๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
  30. ปตฺถ : (ปุ.) ปัตถะ ชื่อมาตราตวง ๔ กุฑุวะ หรือ ๔ ปสตะ เป็น ๑ ปัตถะ, แล่ง, กอบคือ ๒ ฟายมือ, ทะนาน.
  31. ปทุมุตฺตร : (ปุ.) ปทุมุตตระ พระนามของอดีต พุทธะ, ชื่อต้นไม้.
  32. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  33. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  34. ปรทาริก : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งภรรยาของคนอื่น ( ผิดเมียเขาในทางประเวณี ) วิ. ปรทารํ คจฺฉตีติ ปรทาริโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  35. ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
  36. ปรสฺสปท : (นปุ.) บทเพื่อคนอื่น, บทเพื่อ ผู้อื่น. วิ. ปรสฺส ปทํ ปรสฺสปทํ. ฉ. ตัป. อลุตตสมาส.
  37. ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
  38. ปสนฺนมานส : ค. ดู ปสนฺนจิตฺต
  39. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  40. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  41. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  42. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  43. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  44. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  45. ผคฺคุน : (ปุ.) เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม, อภิฯ วิ. ผคฺคุนิยา ปริปุณฺเณนฺทุยุตฺตาย ยุตฺโต มาโสผคฺคุโน. บท ปริปุณฺเณฯ ตัดบทเป็น ปริปุณฺณ+อินทฺ+ยุตฺต. รูปฯ ๓๖๒ วิ. ผคฺคุนิยา ยุตฺโต มาโส ผคฺคโน. เป็น ผคฺคุณ เพราะแปลง น เป็น ณ บ้าง.
  46. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  47. ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
  48. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  49. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  50. พหุสุต : (วิ.) ผู้ฟังมาก, ผู้สดับมาก, ผู้เรียนมาก, ผู้มีสุตะมาก, ผู้คงแก่เรียน. วิ. พหุสุตํ ยสฺส โส พหุสุโต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | [1651-1700] | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0778 sec)