Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 551-600
  1. อุจฺจนีจตา : อิต. ความสูงและความต่ำ, ความไม่สม่ำเสมอ
  2. อุชุคตา : อิต. ความตรง, ความซื่อตรง
  3. อุตฺตมตา : อิต. ความเป็นของสูงสุด, ความเลิศ
  4. อุตฺตานีกมฺม : นป. การแสดงให้ปรากฏ, การทำให้เข้าใจง่าย
  5. อุตฺตานีกโรติ : ก. ทำให้แจ้ง, ทำให้ตื้น, ทำให้ปรากฏ; แสดงอาบัติ
  6. อุตฺตาเปติ : ก. ทำให้ร้อน, เผา
  7. อุตฺตาริต : กิต. อันเขาให้ข้ามพ้น; อันเขานำออกแล้ว
  8. อุตฺตาริตตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาให้ข้ามพ้น; ความเป็นอันเขานำออกแล้ว
  9. อุตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ช่วย, ดึง, ลาก
  10. อุตฺตาสวนฺตุ : ค. มีความสะดุ้ง, มีการหวาดผวา
  11. อุตฺตาเสสิ : ก. เสียบประจาน, ทำให้สะดุ้ง
  12. อุปตาปก : ค. อันให้เร่าร้อน, ให้เดือดร้อน, อันทรมาน
  13. อุปตาปน : นป. ดู อุปตา
  14. อุปตาเปติ : ก. ให้เร่าร้อน, ให้เจ็บปวด, ทรมาน, รบกวน
  15. อุปฺปณฺฑุปฺปณฺฑุกชาตา : ค. อันซูบซีด, ซีดเซียว, ผอมเหลือง
  16. อุปวชฺชตา : อิต. ความเป็นผู้ควรว่าร้าย, ความเป็นผู้ควรตำหนิ
  17. อุพฺพิลฺลาวิตาการ : (ปุ.) อาการเย่อหยิ่ง?
  18. อุสฺสนฺนตา : อิต. ความพอกพูน, ความหนาขึ้น, ความเต็ม
  19. อุสฺสุกฺกตา : อิต. ดู อุสฺสุกฺก
  20. อุสฺสุยิตตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนริษยา, ความเป็นแห่งคนขึ้งเคียด, ฯลฯ.
  21. อุฬารตา : อิต. ความโอฬาร, ความยิ่งใหญ่, ความประเสริฐ
  22. อูนตา : อิต. อูนตฺต นป. ความหย่อน, ความพร่อง
  23. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  24. เอกตฺตตา : อิต. ดู เอกตฺต
  25. เอกสิกตา : อิต. ความเป็นอันใดอันหนึ่ง, ความแน่นอน
  26. เอตฺตาตา : (อัพ. นิบาต) ด้วย...ประมาณเท่านี้.
  27. โอตาปก : ค. แห้ง, สุก
  28. โอตาเปติ : ก. ตาก, ผึ่งให้แห้ง
  29. โอตารณ : นป. การก้าวลง, การหยั่งลง
  30. โอตาราเปกฺข : ค. ผู้คอยหาโอกาส
  31. โอตาเรติ : ก. ให้หยั่งลง, ให้ก้าวลง
  32. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  33. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  34. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  35. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  36. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  37. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  38. ติถิ : (ปุ. อิต.) วัน (วันทางจันทรคติ), ดิถี.วิ. ตโนตีติ ติถิ. ตนุ วิตฺถาเร, ถิ, นุโลโป, อสฺสิ ( แปลง อ เป็น อิ). อถวา, ตายตีติ ติถิ. ตา ปาลเน, อิถิ. เป็น ติถี ติตฺถี ก็มี. ส. ติถิ ติถี.
  39. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  40. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  41. ตา : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
  42. ตา : (ปุ.) ตาฬ, ฯลฯ. ดู ตาล. ตา ปาลเน, อโฬ. ตฬ. ปติฏฐายํ, โณ.
  43. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  44. โตย : (นปุ.) น้ำ. วิ. ตายเตติ โตยํ. ตา ปาลเน, โย, อาการสฺส โอตฺตํ. ส. โตย.
  45. ปริตฺตา : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  46. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  47. มกฺขิกา : (อิต.) แมลงวัน วิ. อสูจิอาทีหิ มกฺขตีติ มกฺขิ-ตา. มกฺขิ สํฆาเฏ, ณฺวุ, อิตฺถิยํ อา.
  48. มหยฺยก : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่).
  49. มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
  50. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0676 sec)