Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1101-1150
  1. อุสฺสุกิต : ค. ผู้ขวนขวาย, มักใช้ในรูปปฏิเสธเป็น อนุสฺสุกิต ไม่ขวนขวาย
  2. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  3. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  4. กฏิสุตฺต : นป. เข็มขัด, สายรัดเอว
  5. กตสุกต : ค. ถูกสร้างขึ้นมาดี, ประกอบขึ้นดี
  6. ตากต : (วิ.) อัน...ทั้งทำแล้วทั้งไม่ทำแล้ว, ทั้งทำแล้วทั้งยังไม่ทำแล้ว.
  7. กปิจิตฺต : ก. มีจิตเหมือนลิง, มีจิตกลับกลอก
  8. กมฺพลสุตฺต : นป. ด้ายขนสัตว์
  9. กมฺมชวาต : ป. ลมกรรมชวาต, ลมเกิดแต่กรรม, ลมเบ่ง
  10. กมฺมนิมิตฺต : นป. กรรมนิมิต, เครื่องหมายแห่งการกระทำ
  11. กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
  12. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  13. กลฺยาณมิตฺต : (ปุ.) เพื่อนดี, เพื่อนแท้.
  14. กลฺลจิตฺต : (นปุ.) จิตควรแก่การงาน.
  15. กสิเขตฺต : นป. ทุ่งนา, ที่ทำนา
  16. กสิต : กิต. ไถแล้ว, พรวนแล้ว
  17. กามสุตฺต : นป. กามสูตร, เป็นชื่อพระสูตรที่หนึ่งแห่งอัฏฐกวรรคสุตตนิบาต
  18. กามาธิมุตฺต : ค. ผู้น้อมนึกถึงกาม, ผู้จดจ่อในกาม
  19. กามาวจรจิตฺต : นป. จิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม
  20. กายคุตฺต : ค. ผู้มีร่างกายอันคุ้มครองแล้ว, ผู้รักษากายได้แล้ว, ผู้มีกายสงบ
  21. กาฬสุตฺต : (ปุ.) กาฬสุตตุ ชื่อนรกใหญ่ขุมที่ ๒ ใน ๘ ขุม วิ. ยตฺถ นิรเย เนรยิกานํ สรีรานิ วฑฺฒกีนํ กาฬสุตฺเตน สญฺญ าณํ กตฺวา วาสินา ตจฺฉนฺติ โส กาฬสุตฺโต.
  22. กิตฺติ, - ตี : อิต. เกียรติ, ชื่อเสียง, การสดุดี, การสรรเสริญ
  23. กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
  24. กิเลสวิปฺปยุตฺต : ค. ซึ่งปราศจากกิเลส
  25. กิเลสสมฺปยุตฺต : ค. ที่ประกอบด้วยกิเลส
  26. กุมิตฺต : ป. มิตรเลว, เพื่อนชั่ว
  27. กุสลจิตฺต : นป. กุศลจิต, จิตที่เป็นกุศล, ความคิดที่ดี
  28. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  29. ขณิตฺติ, - ตี : อิต. จอบ, เสียม, พลั่ว
  30. ขายิต : ๑. นป. ของที่กินแล้ว; ๒. ค. กินแล้ว
  31. ขิตฺตจิตฺต : (วิ.) ผู้มีจิตฟุ้งซ่าน, ผู้ไม่สำรวมจิต.
  32. เขตฺต : นป. สวน, นา, ไร่, ที่อยู่; เมีย; ร่างกาย
  33. เขตฺตโคป : ป. ผู้เฝ้านา, ผู้รักษาสวน
  34. เขตฺตชิน : ค. เจ้าที่ดิน, ผู้มีที่ดินอยู่ในปกครองมาก
  35. เขตฺตสามิก : ป. เจ้าของน้ำ, เจ้าของสวน, เจ้าของที่ดิน
  36. คุตฺต : ค. อันเขารักษาแล้ว, อันเขาคุ้มครองแล้ว
  37. โคปายิต : ค. ดู โคปก
  38. โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
  39. ฆตสิตฺต : ค. อันรดแล้วด้วยเนยใสหรือเปรียง
  40. จกฺกวตฺติ, - ตี : ป. พระเจ้าจักรพรรดิ
  41. จกฺกวาต : (ปุ.) ลมบ้าหมู (ลมหมุน)
  42. จตุภูมิกจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นไปในภูมิสี่ จิต อันเป็นประกอบในภูมิสี่.
  43. จลจิตฺต : ค. ผู้มีจิตหวั่นไหว, ผู้มีจิตไม่มั่นคง
  44. จิตฺตเกฬิสา : อิต. ความรื่นรมแห่งจิตใจ
  45. จิตฺตคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางจิต.
  46. จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
  47. จิตฺตจุล จิตฺตจูฬ : (ปุ.) เต่า.
  48. จิตฺตเจตสิก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยจิตและเจตสิก
  49. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  50. จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0695 sec)