Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1701-1750
  1. พาลิสิก : (ปุ.) คนผู้จับปลาด้วยเบ็ด, พรานเบ็ด, พลิส+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  2. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  3. พิมฺพา : (อิต.) พระนางพิมพา (มารดาพระราหุล). อติสยวณฺณสรีรยุตฺตตาย พิมฺพา.
  4. พุทฺธิก : (วิ.) ผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า วิ. พุทฺเธ ปสนฺโน พุทฺธิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  5. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  6. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  7. ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
  8. ภยงฺกร : (วิ.) ทำซึ่งภัย, กระทำซึ่งภัย, น่ากลัว, น่าสพึงกลัว. ทุ. ตัป. อลุตตสมาส.
  9. ภลฺลิก : (ปุ.) ภัลลิกะ ชื่อพ่อค้าคู่กับตปุสสะ ผู้ถวายสัตตุก้อน สัตตุผง แด่พระพุทธเจ้า.
  10. โภ : (อัพ. นิบาต) พ่อเฮ้ย, แนะท่านผู้เจริญ. โภ อักษรในอรรถแห่งสัมโพธะก็มี สมโณ ขลุ โภ โคตโม.
  11. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  12. มชฺฌิมนิกาย : (ปุ.) มัชฌิมนิกาย ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งสุตตันตปิฎก.
  13. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  14. มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
  15. มนายตน : (นปุ.) อายตนะ คือ ใจ, มนายนตะ คือ วิญญาณขันธ์. ไตร. ๓๓.
  16. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  17. มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  18. มหาปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้ใหญ่, บุรุษผู้ประเสริฐ, มหาบุรุษ คือท่านผู้ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติหรือโลก (ชาวโลก) มาก หรือท่านผู้สร้างสมบารมีไว้มาก เรียกเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวชแสวงหาโมกขธรรมว่า พระมหาบุรุษ.
  19. มายา : (อิต.) มายา ชื่อพระมารดาของพระสิทธัตถกุมาร.
  20. มิตฺตทฺทุ : (ปุ.) คนประทุษร้ายมิตร. มิตฺตปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป, อ. ซ้อน ทฺ.
  21. มิลกฺขเทส มิลกฺขปเทส : (ปุ.) ประเทศของคนป่า, ปัจ จันตประเทศ, ประเทศปลายแดน.
  22. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  23. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  24. ยนฺตมุตฺต : (นปุ.) ศรเป็นต้น ชื่อยันตมุตตะ.
  25. สตฺต : (นปุ.) สาย, สายบรรทัด, ใย, ด้าย, เส้น, เส้นด้าย. สจฺ คติยํ, โต. แปลง จฺ เป็น ตฺ
  26. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  27. สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
  28. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  29. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  30. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  31. สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
  32. สิงฺคินี : (อิต.) แม่โค, แม่โคสามัญ. สิงฺคยุตฺต ตาย สิงฺคินี.
  33. สิงฺฆาฎก : (นปุ.) ทางมารวมกัน, ตะแลงแกง (ทางมารวมกัน), ทางสามแยก, ทางสี่แยก, ทางสามแจง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แจง, ทางสามแพร่ง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แพร่ง, ตรอกสามแจง, ตรอกสี่แจง, ฯลฯ, ชุมทางสามแยก, ชุมทางสี่แยก, ฯลฯ. วิ. สึฆติ เอกีภาวํ ยาตีติ สิงฺฆาฎโก. สึฆฺ ฆฎเน, อาฎโก.
  34. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  35. สีสก : (นปุ.) จันทร์แดง, สันตะวา ขึ้นในน้ำกินได้. เป็นปุ. ก็มี.
  36. สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
  37. สุตชน : (ปุ.) ชนเกิดแต่กษัตริย์กับด้วยนางพรมหมณีชื่อสุตะ.
  38. สุตฺตนฺตปิฎก : (นปุ.) พระสุตตันตปิฎก.
  39. สุตฺตนฺติก : (วิ.) ผู้เรียนพระสูตร, ผู้รู้พระสูตร. วิ. สุตฺตนฺตํ อธิเตติ สุตฺตนฺติโก. ณิก ปัจ. ตรัตยทิตัท.
  40. สุตฺตโส : (อัพ. นิบาต) โดยการจำแนกแห่งสูตร, โดยวิภาคแห่งสูตร. สุตฺต+โส ปัจ.
  41. สุทฺโธทน : (ปุ.) สุทโธทนะ พระนามของเจ้าศากยะผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ.
  42. สูต : (ปุ.) สูตชน คือคนที่เกิดแต่กษัตริย์กับนางพราหมณีชื่อสูตะ. สุ อภิสเว, โต, ทีโฆ.
  43. สูลา : (อิต.) โรคจุกเสียด, โรคลมแทง, ตะคิว. ส. ศูล.
  44. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  45. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  46. หริจนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ. วิ. หริ มณฺฑูโก, ตทากาเร ปพฺพเต ชาตํ จนฺทนํ หริจนฺทนํ.
  47. อชฺชตคฺค : (วิ.) มีวันนี้เป็นต้น, มีในวันนี้เป็นต้น, อชฺช+อคฺค ตฺ อาคม.
  48. อชาตสตฺตุ : (ปุ.) พระเจ้าอชาตศัตรู พระนามพระเจ้าแผ่นดินมคธซึ่งเป็นพระราชโฮรสของพระเจ้าพิมพิสาร.ส. อชาตศตฺรุพระอินทร์พระศิวะ.
  49. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  50. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | [1701-1750] | 1751-1788

(0.0620 sec)