Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 101-150
  1. มหีลตา : (อิต.) ไส้เดือน วิ. มหิยาลตา มหีลตา.
  2. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  3. สิตา : (อิต.) รอยไถ. สิ สเย, โต, อิตฺถิยํ อา. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตายาติ สิตา. สิ พนฺธเน. สิตา นารี. ดู สีตา ด้วย.
  4. สีตา : (อิต.) รอยไถ วิ. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตา ยาติ สีตา, นงฺคลเลขา. สิ พนฺธเน. โต, ทีโฆ. ส. สีตา.
  5. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  6. อกฺขิตารา : อิต. ลูกตา, ดวงตา, แก้วตา
  7. อจฺฉิ : (นปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, แสงไฟ, รัศมี, แสง, ตา, นัยน์ตา, วิ. อจฺฉติ เอเตนานิอจฺฉิ. อจฺฉ ทสฺสนพฺยาปเนสุ, อิ.
  8. อชินปตฺตา : (อิต.) ค้างดาว.วิ.อชินํจมฺมํปตฺตํ ยสฺสา สา อชินปตฺตาเป็นอชินปตฺติกา บ้าง. ส. อชินปตฺตรา อชินปตฺตรีอชินปตฺตริกา.
  9. อญฺญถตฺตา : (อัพ. นิบาต) ด้วยประการอื่น, โดยประการอื่น.อญฺญ+ถตฺตาปัจ.
  10. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  11. อปราชิตา : (อิต.) ทุมแทง, อัญชันเขียว.วิ.โรคาทิชิตตฺตานปราชิตาอปราชิตา.
  12. อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
  13. อาตตายี : (ปุ.) คนร้าย, นักโทษ.อาปุพฺโพ, ตาปาลเน, ณี, ทฺวิตฺตํ(แปลงตเป็นตฺต), อาสฺสอาโย(แปลงอาเป็นอาย). แปลว่าเพชฌฆาต บ้าง.ส. อาตตายินฺ.
  14. อาปนฺนสตฺตา : (อิต.) หญิงมีสัตว์อยู่ในครรภ์, หญิงมีครรภ์.วิ.อาปนฺโนคพฺภฏฺโฐสตฺโตเอตายาติอาปนฺนสตฺตา.อาปนฺนตั้งอยู่แล้วดำรงอยู่แล้ว.
  15. อุตฺตานีกรณ : นป. ดู อุตฺตานีกมฺม
  16. อุปตาปิก : ค. ดู อุปตาปก
  17. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  18. เอตาวนฺต เอตฺตาวนฺต : (วิ.) มีปริมาณเท่านี้, มีประมาณเท่านี้. อิม+วนฺต ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต ทีฆะ ที่สุดศัพท์ ซ้อน ตฺ. มีปริมาณเท่านั้น, มีประมาณเท่านั้น. เอต+วนฺต ปัจ. เป็น เอตฺตาวนฺตุ โดยลง วนฺตุ ปัจ. บ้าง. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๓ ลง อาวนฺตุ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ.
  19. ภสฺตา ภสฺตฺรา : (อิต.) กะทอ, ถุหนัง, สูบ, เครื่องสูบลม, ลูกโป่ง, ย่าม. ภาสฺ ทิตฺติยํ, ต ตฺรณฺ ปัจ. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  20. กนฺตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (นามนาม มิใช่ วิเสสนะ), นาง, ภรรยา?, กานดา (หญิงที่ รัก). กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ อาอิต.
  21. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  22. มตฺตา มตฺรา : (อิต.) การนับ, เครื่องนับ, เครื่องวัด, เครื่องชั่ง, เครื่องตวง, ความเป็นใหญ่. มา ปริ-มาเณ. ต ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๖๕๐.
  23. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  24. จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
  25. อุตฺตาสน : (นปุ.) แปลเหมือนอุตฺรสติ. อุปุพฺโพ, ตสฺ อุพฺเพเค, ยุ. ซ้อน ตฺ ทีฆะต้นธาตุ.
  26. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  27. กฏตฺตากมฺม : (นปุ.) กรรมอันตนทำแล้วพอ ประมาณ, กรรมอันตนทำแล้วในอดีตชาติ, กรรมสักว่าทำ.
  28. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  29. กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
  30. กณฺฏกลตา : อิต. เครือเถาที่มีหนาม
  31. กณฺฐลตา : อิต. ปลอกคอเสื้อ; บังเหียนม้า
  32. กณฺณกิตา : (อิต.) สนิม (อยู่ตามมุม)?
  33. กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
  34. กตฺตุกมฺยตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  35. กตฺตุกามตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  36. กตปุญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้ว
  37. ตานุคฺคห : ค. ผู้ได้รับความอนุเคราะห์
  38. ตาปราธ : ค. ผู้ต้องโทษ, ผู้มีความผิด
  39. ตาภินิเวส : ค. ดู ตาธิการ
  40. ตาภินีหาร : ค. ดู ตาธิการ
  41. ตาวี : ค. ผู้ทำ, ผู้ประกอบ
  42. กทริยตา : อิต. ความตระหนี่
  43. กนฺตารนิตฺถรณ : นป. การข้ามทางกันดาร
  44. กนฺตารมคฺค : ป. ทางกันดาร, ทางเดินยาก
  45. กนฺตารมุข : ป. ปากทางกันดาร
  46. กนฺตาริย : ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในที่กันดาร
  47. กปฺปตา : อิต. ความเหมาะสม, ความสมควร
  48. กปฺปลตา : อิต. เครือเถาเหมือนกับต้นกัลปพฤกษ์
  49. กปฺปิยสญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความสำคัญว่าควร
  50. กโปตาริ : ป. เหยี่ยว
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0796 sec)