Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตา , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตา, 1788 found, display 1751-1788
  1. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  2. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  3. อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
  4. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  5. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  6. อนุภูต : ค. ดู อนุภุตฺต
  7. อปฺปนา : (อิต.) ความแนบแน่น, วิ.อปฺเปติสมฺปยุตฺตธมฺเมปาเปตฺยารมฺมณนฺติอปฺปนาอปฺปาปุณเน, ยุ, ทฺวิตฺตํ.
  8. อพฺภาฆาต : นป. ตะแลงแกง, ที่ประหารชีวิต
  9. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  10. อมุตฺต : (นปุ.) อมุตตะชื่อของมีดหรือกริชเป็นต้น.วิ. ฉุริกาอสิปุตฺติคทาทิกํอมุตฺตํ.นมุตฺตํอมุตฺตํ.
  11. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  12. อวสฺสุต : (วิ.) ชุ่ม, เปียก.อวปุพฺโพ, สุปสเว, โต.สุทฺ ปคฺฆรเณ, อ. แปลงทเป็นตซ้อนสฺ.
  13. อสฺสกณฺณ : (ปุ.) อัสสกัณณะชื่อภูเขาลูก๑ใน๗ลูกเป็นลูกที่๗ทั้ง๗ลูกนี้ล้อมเขาสุเมรุจึงเรียกว่า สัตตปริภัณฑ์.
  14. อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
  15. อาฆาตน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาฆ่า, สถานที่ฆ่า, สถานที่สำหรับฆ่า, ตะและแกง (ที่เป็นที่นำมาฆ่าที่สำหรับฆ่านักโทษ)วิ.อาคนฺตวาฆาเตนฺติยสฺมึตํอาฆาตนํ.อาโกธวเสนสตฺเตฆาเตติเอตฺถาติอาฆาตนํ.อาอักษรเป็นไปในความโกรธ.ส.อาฆาตน.
  16. อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  17. อาตตวิตฺต : (นปุ.) อาตตวิตตะชื่อดนตรีที่หุ้มหนังทั้งหมด มีบัณเฑาะก์เป็นต้น.
  18. อาทุ : อ. หรือ, หรือว่า, แต่, แน่นอน
  19. อาภุชี : (อิต.) ไม้เสม็ด, ไม้แสม, ไม้ราชดัด.อาภุชิตตจวนฺตตายอาภุชี.
  20. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  21. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  22. อาลมฺพ : (ปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพียเตติอาลมฺโพ.ลมฺพนฺติเอตฺถรูปาทีสูติวาอาลมฺโพ.อาปุพฺโพ, ลพิอวสํสเน, อ.
  23. อาลมฺพณอาลมฺพน : (นปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิกาเอตฺถอาคนฺตฺวาลมฺพนฺตีติอาลมฺพณํอาลมฺพนํ วา, ยุปัจ. ส. อาลมฺพนการอาศรัยอยู่, การห้อยอยู่.
  24. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  25. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  26. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  27. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  28. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  29. อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
  30. อุทฺธุมายิก : ค. ดู อุทฺธุมาต
  31. อุโปสถิก : (วิ.) ผู้สมาทานอุโบสถ, ผู้สมาทาน อุโบสถศีล, ผู้รักษาอุโบสถศีล, ผู้รักษาศีล ๘. วิ. อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. อุโปสโถ อสฺส อตฺถีติ อุโปสถิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  32. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  33. เอกาสนิก : (วิ.) ผู้มีการบริโภคบนอาสนะ เดียวเป็นปกติ. วิ. เอกาสเน โภชนํ สีลํ อสฺสาติ เอกาสนิโก. ผู้มีปกติบริโภคอาหารบน อาสนะเดียว ผู้บริโภคอาหารบนอาสนะเดียว เป็นวัตร วิ. เอกาสเน โภชน สีโล เอกาสโน. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  34. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  35. เอหิปสฺสิก : (วิ.) ควรซึ่งวิธีว่า อ. ท่านจงมาดู, ควรซึ่งวิธีว่าท่านจงมาดู, ควรเรียกให้มาดู. วิ. เอหิ ปสฺสาติ อิมํ วิธึ อรหตีติ เอหิปสฺ สิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. รูปฯ ๓๖๐. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ วิ. เอหิปสฺสวิธึ อรหตีติ เอหิปสฺสิโก.
  36. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  37. โอปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ประกอบในอุบาย. วิ. อุปาเยน อุปาเย วา นิยุตฺโตติ โอปายิโก. ชอบด้วยอุบาย วิ. อุปาเยน อนุจฺฉวิโกติ โอปายิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  38. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | [1751-1788]

(0.1000 sec)