Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 1051-1100
  1. ทิฏฺฐิวิปลฺลาส : ป. ทิฐิวิปลาส, ความเห็นคลาดเคลื่อน
  2. ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
  3. ทิฏฺฐิวิสุทฺธิ : อิต. ทิฏฐิวิสุทธิ, ความหมดจดแห่งทิฐิ, ความเห็นบริสุทธิ์, ความเห็นถูกต้อง
  4. ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
  5. ทิฏฺฐิสงฺฆาต : ป. โครงร่างแห่งทิฐิ, ความสับสนแห่งความเห็น
  6. ทิฏฺฐิสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมด้วยทิฐิ, สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  7. ทิฏฺฐิสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยทิฐิ, ผู้สมบูรณ์ด้วยความเห็นชอบ
  8. ทิฏฺฐิสมุทย : ป. แดนเกิดแห่งทิฐิ, เหตุให้เกิดความเห็นผิด
  9. ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
  10. ทิฏฺฐิสารี : ค. ผู้แล่นไปด้วยทิฐิ, ผู้ดำเนินตามความเห็นผิด
  11. ทิตฺติ : (อิต.) ความสวยงาม, ฯลฯ. ความรุ่ง เรือง, ไฟ, รัศมี, แสง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ.
  12. ทิปฺปน : นป. การส่องแสง, ความรุ่งเรือง
  13. ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
  14. ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์
  15. ทิพฺพสมฺปตฺติ : อิต. ทิพยสมบัติ, สมบัติอันเป็นทิพย์, สมบัติของเทวดา, ความสุขในสวรรค์
  16. ทิวาสญฺญา : อิต. ทิวาสัญญา, ความสำคัญหมายว่ากลางวัน
  17. ทิวิภาว : ป. ความเป็นสิ่งมีในสวรรค์, ความเป็นของทิพย์, ความเป็นเทวดา
  18. ทิสตา : อิต. ทิศ, ทิศทาง, เขต, ภาค, ส่วนแห่งโลก; ความเป็นข้าศึก, ความเป็นโจร
  19. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  20. ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
  21. ที : (ปุ.?) การเปลือง, การเสื่อม, การสิ้น, ความเปลือง, ฯลฯ. ที ขเย, อ. ส. ที.
  22. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  23. ทีฆโสตฺติย : (นปุ.) ความเป็นคนแห่งคนผู้ประ พฤติช้า, ความเป็นคนประพฤติช้า, ฯลฯ, ณีย ปัจ. ภาวตัท.
  24. ทีฆายุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้มีอายุยืน, ฯลฯ, ความเป็นคนมีอายุยืน.
  25. ทีธิติ : (อิต.) ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. ทีธฺยตีติ ทีธีติ. ทีธิ ทิตฺติยํ, ติ. ทิปฺปตีติ วา ทีธีติ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ, ปสฺส โธ, อิอาคโม, ทีโฆ. ส. ทีธีติ.
  26. ทีนตา : อิต., ทีนตฺต นป. ความเป็นคนจน, เข็ญใจ, มีทุกข์, เลว, ทราม, ต่ำช้า
  27. ทีปนี : ค., อิต. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แจง, ซึ่งอธิบาย; คัมภีร์อธิบายความ
  28. ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง เสือดาว (ผู้ประกาศ ความยิ่งใหญ่ในป่า). ทีปฺ ปกาสเน, อิ.
  29. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  30. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  31. ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
  32. ทุกฺกรตา : อิต., ทุกฺกรตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก
  33. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  34. ทุกฺขการณ : นป. เหตุแห่งทุกข์, ความทุกข์ที่จะต้องได้รับการลงโทษ
  35. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  36. ทุกฺขตา : อิต., ทุกฺขตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทนได้ยาก, ความเป็นทุกข์, ความเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งทุกข์
  37. ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
  38. ทุกฺขนิโรธ : (ปุ.) ความดับซึ่งทุกข์, ความดับทุกข์, ทุกขนิโรธ ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๓.
  39. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  40. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  41. ทุกฺขปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทุกข์, ผู้ประสพความทุกข์
  42. ทุกฺขลาภ : (ปุ.) การได้ด้วยความลำบาก, การได้โดยยาก, ลาภที่ได้โดยยาก.
  43. ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
  44. ทุกฺขสจฺจ : นป. ความจริงคือทุกข์, สิ่งที่เป็นทุกข์จริง, ความจริงแห่งทุกข์
  45. ทุกฺขสญฺญา : อิต. ความหมายรู้ว่าเป็นทุกข์, ความสำคัญว่าเป็นทุกข์
  46. ทุกฺขสมฺผสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งมีสัมผัสเป็นทุกข์
  47. ทุกฺขสมุทย : (ปุ.) ความตั้งขึ้นพร้อมแห่งทุกข์, ความเกิดขึ้นแห่งทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขสมุทัย ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๒.
  48. ทุกฺขาธิวาห : (ปุ.) ธรรมชาตผู้ซึ่งนำไปซึ่งทุกข์ อันยิ่ง, ความนำไปยิ่งซึ่งทุกข์.
  49. ทุกฺขานุภวน : นป. การเสวยทุกข์, การได้รับความทุกข์ทรมาน
  50. ทุกฺขาปคม : ป. การไปปราศจากความทุกข์, การหลีกออกจากทุกข์, การเปลื้องทุกข์
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0919 sec)