Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 2651-2700
  1. สุสานโคปก : ค. ผู้รักษาป่าช้า
  2. สูรต : (วิ.) ผู้มีความยินดี, ผู้มีความเอ็นดู. สุปุพฺโพ, รมุ กีฬายํ, โต.
  3. สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
  4. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  5. เสฺนห : ป. ความรัก, ความเยื่อใย ; น้ำมัน, ยาง
  6. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  7. เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  8. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  9. เสริวิหารี : ค. ผู้อยู่ตามความพอใจของตน
  10. เสรีนิยม : (ปุ.) การกำหนดในเสรีภาพ, ความพอใจในเสรีภาพ, ความชอบใจในเสรีภาพ.
  11. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  12. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  13. เสว : (ปุ.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
  14. เสวนา เสวา : (อิต.) การเสพ, ฯลฯ, ความเสพ, ฯลฯ. เสวฺ ธาตุ อ. ยุ ปัจ.
  15. โสกปเรต โสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกครอบงำแล้ว, ผู้ถูกความโศกครอบงำ.
  16. โสกวิโนทน : นป. การบรรเทาความโศก
  17. โสกสลฺล : นป. ลูกศรคือความโศก
  18. โสกี : (วิ.) ผู้มีความแห้ง, ฯลฯ.
  19. โสขย : นป. ความสุข, ความสบาย
  20. โสขฺย : (นปุ.) ความสุข, ฯลฯ. สุข+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  21. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  22. โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.
  23. โสจนา : (อิต.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  24. โสจ โสจน : (นปุ.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  25. โสตฺต : (นปุ.) การนอนหลับ, การหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, โต, อุสฺโส, ปสฺส โต.
  26. โสตฺถิ : (นปุ.) ความสวัสดี, สวัสดี, ความเจริญ, ความดี, ความงาม, ความปลอดโปร่ง, ความสุข.
  27. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  28. โสตเวชฺช : (ปุ.) หมอตรวจหู, หมอรักษาหู, โสตแพทย์.
  29. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  30. โสตาวธาน : (นปุ.) การเงี่ยโสตลง, ความตั้งโสตลง คือการตั้งใจฟัง. โสต+อว+ธาธาตุ ยุ ปัจ.
  31. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  32. โสภา : (อิต.) ความดี, ความงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. วิ. สุนฺทรํ ภาตีติ โสภา. สุนฺทรปุพฺโพ, ภาทิตฺติยํ, อ. สุภฺ ทิตฺติยํ วา, โณ, อิตฺถิยํ อา.
  33. โสภิณี : (อิต.) หญิงงาม. ไทย โสภิณี โสเภณี ใช้ในความว่า หญิงงามเมือง คือหญิงที่หากินในทางประเวณี เป็นศัพท์ที่ตัดมาจากคำ นครโสภิณี.
  34. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  35. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  36. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  37. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  38. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  39. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  40. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  41. หตฺถการ : (ปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  42. หตฺถกิจฺจ : (นปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  43. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  44. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  45. หตฺถิโคปก หตถิป หตฺถิบาล : (ปุ.) คนผู้รักษาช้าง, คนเลี้ยงช้าง, ควาญช้าง, นายควาญช้าง. คุปฺ รกฺขเณ, โณ, สตฺเถ โก. ปา ปาลฺ วา รกฺขเณ, โณ.
  46. หติ : (อิต.) ความเบียดเบียน. วิ. หนนํ หติ. หนฺ หึสายํ, ติ, นฺโลโป.
  47. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  48. หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
  49. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  50. หาน : (นปุ.) ความละ, ความสละ, ความวาง, ความปล่อย. หา จาเค, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | [2651-2700] | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0939 sec)