Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 2701-2750
  1. หาน หานิ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเลว, ความทราม, ความทรุดโทรม. หา ปริหานิเน, ยุ, นิ.
  2. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
  3. หาปน : นป. ความเสื่อม, ความลดลง
  4. หาสกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นความยินดี, ฯลฯ, ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย.
  5. หิ : (นปุ.) ทุกข์, ความทุกข์. หา ปริหานิเย, อิ.
  6. หิต : (นปุ.) ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. หิ. วุฑฺติยํ, โต.
  7. หิตา : (อิต.) ความเกื้อกูล, ประโยชน์เกื้อกูล, ประโยชน์. หิ วุฑฺฒิปวตฺตเนสุ, โต.
  8. หินฺท : (นปุ.) ความตาย.
  9. หินฺทคู : (ปุ.) สัตว์ วิ. หินฺทํ มาณํ คจฺฉตีติ หินฺทคู(ผู้ถึงความตาย). หินฺท+คมฺ+รู ปัจ. ลบที่สุดธาตุ. ไตร. ๒๕.
  10. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  11. หิรโอตฺตปฺป หิโรตฺตปฺป : (นปุ.) ความละอายบาปและความกลัวบาป, ความละอายแก่ใจและความเกรงกลัว.
  12. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  13. หิริโกปีน : นป. สิ่งที่ยังหิริให้กำเริบ, สิ่งที่ทำให้เกิดความละอาย
  14. หิโรตฺตปฺป : นป. ความละอายใจและความเกรงกลัวบาป
  15. หิลาทน : (นปุ.) ความสบาย, ฯลฯ.
  16. หึสาสีล : (วิ.) ผู้มีความเบียดเบียนเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. หึสา สีลํ อสฺส อตฺถีติ หึสาสีโล.
  17. เหรญฺญก : (ปุ.) บุคคลผู้เกี่ยวกับเงิน, พนักงานคลังเงินทอง, เหรัญญิก ชื่อคนผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการของสมาคมหรือหน่วยงาน มีหน้าที่รับเก็บและจ่ายเงิน.
  18. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  19. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  20. อกฺโกธ อโกธ : (ปุ.) ความไม่โกรธ. นปุพฺโพ, กุธฺ โกเป, อ.
  21. อกฺขณาเวธี : ป. นายขมังธนูผู้มีความชำนาญในการยิงศรอย่างสายฟ้าแลบ
  22. อกฺขย : ๑. นป. ความสงบสุข, พระนิพพาน ; ๒. ค.ไม่เปลี่ยนแปลง, ยั่งยืน
  23. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  24. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  25. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  26. อกมฺปิยตฺต : นป. ความไม่หวั่นไหว, ความไม่คลอนแคลน
  27. อกมฺปียตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันโลกธรรมให้หวั่นไหวไม่ได้.
  28. อกมฺมกิริยาอกมฺมกฺริยา : (อิต.) กิริยาไม่มีกรรม คือกิริยาที่ได้ความสมบรูณ์มิต้องมีกรรมคือผู้ถูกทำมารับ, กิริยาที่ไม่ต้องเรียกหากรรม
  29. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  30. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  31. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  32. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  33. อกิจฺฉน : (วิ.) หมดความขวนขวายในการงาน วิ. นตฺถิ กิญจนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน.จน, เข็ญใจ.วิ.นตฺถิกิญฺจนํ อปฺปมตฺตมฺปิธนํ ยสฺส โส อกิญฺจโน. ส. อกิญจน.
  34. อกิญฺจน : (วิ.) มีกิเลสเครื่องกังวลไม่มี, ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล, ไม่มีกิเลสชาตเครื่องกังวล, ไม่มีความกังวล, ไม่มีห่วงใย, ปลอดโปร่ง. นปุพฺโพ, กิจิ มทฺทเนทเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม,
  35. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  36. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  37. อกิลมน : (วิ.) มีความลำบากหามิได้, ไม่มีความลำบาก, มิใช่ความลำบาก, มีความเหน็ดเหนื่อยหามิได้, ฯลฯ นปุพฺโพ, กิลมุ คิลาเน, ยุ.
  38. อกุปฺปตา : อิต. ความไม่กำเริบ, ความไม่หวั่นไหว, ความถาวร
  39. อกุสล : (วิ.) ผู้มีความฉลาดหามิได้, ผู้มีความดีหามิได้, วิ. นตฺถิ ตสฺส กุสลนฺติอกุสลํ. มิใช่ความฉลาด, มิใช่ความดี วิ.น กุสลํ อกุสลํ. ส. อกุศล.
  40. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  41. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  42. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  43. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  44. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  45. อคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้เลิศ, ผู้เลิศ; ความยอดเยี่ยม
  46. อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
  47. อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
  48. อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
  49. อครุ : (ปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  50. อครุ อคลุ อคฬุ : (นปุ.) ความไม่หนักใจ, ความเบาใจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | [2701-2750] | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0922 sec)