Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 2501-2550
  1. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  2. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  3. สมสฺสาส : ป. ความโล่งใจ, ความปลอดโปร่ง, ความสดชื่น
  4. สมาจรณ : นป., สมาจาร ป. ความประพฤติชอบ
  5. สมาจาร : (ปุ.) มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อด้วยดี, มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อสม่ำเสมอ, ความประพฤติดี, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติชอบ, มารยาทดี, มารยาทที่ดี, มารยาทเรียบร้อย. ส. สมาจาร.
  6. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  7. สมานฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจร่วมกัน, ฯลฯ.
  8. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  9. สมานสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ร่วมกันได้, สมานสังวาส ใช้สำหรับพระสงฆ์ในความว่าทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันได้.
  10. สมิชฺณน : (นปุ.) ความรุ่งเรือง, ความเจริญรุ่งเรือง, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, ยุ. ลง ย ปัจ ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  11. สมิทฺธิ : (นปุ.) ความมั่งคั่ง, ความสมบูรณ์, ความสำเร็จด้วยดี, ความสัมฤทธิ์, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฺฒิยํ, โต, ติ วา.
  12. สมุจฺจย : (ปุ.) การก่อขึ้นพร้อม, การสะสม, การสั่งสม, การรวบรวม, การพอกพูน, ความก่อขึ้นพร้อม, การประมวล, ฯลฯ, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ชุมนุม, สมุจจัย. วิ. สห อุจฺจียนฺเตติ
  13. สมุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขึ้นพร้อม, การตัดขึ้นด้วยดี, การตัดขาด, ความตัดขาด.
  14. สมุจฺเฉทปหาน : (นปุ.) การละด้วยความสามารถแห่งอันตัดขาด, สมุจเฉทปหาน คือ การละ(ตัด)กิเลสได้เด็ดขาด เป็นการสละกิเลสด้วยอริยมรรคของพระอริยบุคคล.
  15. สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
  16. สมุฏฐาน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อม, ความตั้งขึ้นพร้อม, ที่ตั้ง, เหตุ, เค้าเงื่อน, สมุฎฐาน.
  17. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  18. สมุทยธมฺม : (วิ.) มีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา.
  19. สมุทาคมน : (นปุ.) ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, ความมีอยู่. สํ+อุ+อาคมน ทฺ อาคม.
  20. สมุทาจรณ : นป. ความประพฤติ
  21. สมุปฺปาท : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้นด้วยดี, การเกิดสมบูรณ์, ความเกิดขึ้นพร้อม, ฯลฯ. สํ อุ ปุพฺโพ, ปท. คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค.
  22. สมุสฺสาเหติ : ก.ให้เกิดความบากบั่น, เร่งเร้า
  23. สโมห : ค. หลงรัก, มีความลุ่มหลง
  24. สยน : (นปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สยนํ. ที่เป็นที่นอน, ที่นอน. วิ. สยนฺตฺยตฺรติ สยนํ. ยุ ปัจ. การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. สิ คติยํ ปวตฺตเน วา.
  25. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  26. สรกฺขนา : อิต. การคุ้มครอง, การรักษา
  27. สรณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความระลึก, กิริยาที่ระลึก.
  28. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  29. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  30. สลฺยาณ สลฺลาณ : (ปุ. นปุ.) การไป, การเป็นไป, ความเป็นไป. สลฺ คติยํ, ยาโณ, ลาโณ วา. กัจฯ ๖๓๓ รูปฯ ๖๔๑.
  31. สลฺเลข : (ปุ.) การขัดเกลา, ความขัดเกลา(ขัดเกลากิเลส). สํปุพฺโพ, ลิขฺ เลขเน, โณ.
  32. สลิลพฺภม : (ปุ.) ความหมุนแห่งน้ำ, น้ำวน. วิ. จกฺก มิว สลิลานํ ภโม สลิลพฺภโม.
  33. สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
  34. สวตฺตนิก : ค. มีความเกี่ยวข้องด้วย, มีความเป็นไปด้วย
  35. สวร : ป., สํวรณ นป. ความสำรวม
  36. สวิตกฺก : ค. มีความตรึกตรอง
  37. สเวค : ป. ความสลดใจ
  38. สสย : ป. ความสงสัย
  39. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  40. สสฺสตทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นว่าเที่ยง.
  41. สสฺสติ : (อิต.) ความเที่ยง, ฯลฯ. วิ. สทา สรนฺติ คจฺฉนฺตีติ สสฺสติ. สทาปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, ติ.
  42. สสิทฺธิ : อิต. ความสำเร็จ
  43. สสุทฺธิ : อิต. ความหมดจด
  44. สห : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความยินดี, เป็นไปกับด้วยความร่าเริง.
  45. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  46. สหพฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ความเป็นพวก.
  47. สหสฺสเนตฺต : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่งเป็นประมาณ, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, ท้าวสหัสเนตร, ท้าวสหัสนัยน์, พระอินทร์. คำนี้ในหนังสือบางเล่ม เป็นท้าวหัสเนตร ท้าวหัสนัยน์ ตัด ส ตัวหน้าออก ความหมาย มิผิดหรือ? ส. สหสฺรากฺษ.
  48. สหายตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสหาย, ประชุมแห่งสหาย. ตา ปัจ. ภาวตัทและสมุหตัท. ความเป็นสหาย, คุณชาติ เครื่องเป็นสหาย.
  49. สาเฐยฺย : นป. ความโอ้อวด
  50. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | [2501-2550] | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.1030 sec)