Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 3751-3800
  1. อุปรชฺช : นป. ความเป็นอุปราช
  2. อุปลกฺขณา : อิต. การเข้าไปกำหนดหมาย, ปัญญาเครื่องกำหนดความแตกต่าง
  3. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  4. อุปลาสิกา : อิต. ความกระหาย, ความอยาก, ความกดขี่
  5. อุปวชฺชตา : อิต. ความเป็นผู้ควรว่าร้าย, ความเป็นผู้ควรตำหนิ
  6. อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
  7. อุปวิจาร : ป. ความพินิจพิเคราะห์, การพิจารณา
  8. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  9. อุปสม : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปสลบ, ธรรมเป็นที่เข้าไประงับ, การเข้าไปสงบ, การเข้าไประงับ, ความเข้าไปสงบ, ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ. อุปปุพฺโพ, สมฺ อุปสเม, อ.
  10. อุปสฺสุติ : อิต. การฟัง, การแอบฟัง, ความสนใจ
  11. อุปหติ : (อิต.) การเข้าไปเบียดเบียน, ความเข้าไปเบียดเบียน. อุปปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, ติ. ลบ นฺ.
  12. อุปาทาน : (นปุ.) การถือมั่น การยึดมั่น (ในสิ่งนั้น ๆ), การยึดไว้, ความถือมั่น, ฯลฯ, ธรรมชาติเป็นเครื่องเข้าไปถือเอา, ของกำนัล ที่ส่งไปให้, เชื้อ, เชื้อไฟ, ฟืน. อุป อา ปุพฺโพ, ทา ทานอาทาเนสุ, ยุ. ส. อุปทาน. อุปาทานกฺขนฺธ
  13. อุปาทานกฺขนฺธ : ป. ความยึดถือขันธ์
  14. อุปาทานกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอุปาทาน
  15. อุปาทานปจฺจย : ป. ปัจจัยคืออุปาทาน, เหตุอันเกิดจากความยึดถือ
  16. อุปายโกสลฺล : นป. ความเป็นผู้ฉลาดในอุบาย
  17. อุปายาส : (ปุ.) ความคับแค้น, ความคับแค้น ใจ, ความเคือง. อุป อา ปุพฺโพ, ยา คติยํ, โส.
  18. อุเปกฺขก : ค. ผู้เข้าไปเพ่ง, ผู้มีความวางเฉย, ผู้มีใจเป็นกลาง
  19. อุเปกฺขนา : (อิต.) กิริยาที่วางเฉย, ความวาง เฉย.
  20. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  21. อุโปสถทิวส : (ปุ.) วันอุโบสถ คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันที่พระสงฆ์ลง อุโบสถฟังสวดพระปาติโมกข์ สำหรับ อุบาสกอุบาสิกา คือวันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ สำหรับเดือนขาด เป็นวันรักษาศีลฟัง ธรรม.
  22. อุโปสถิก : (วิ.) ผู้สมาทานอุโบสถ, ผู้สมาทาน อุโบสถศีล, ผู้รักษาอุโบสถศีล, ผู้รักษาศีล ๘. วิ. อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. อุโปสโถ อสฺส อตฺถีติ อุโปสถิโก. อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  23. อุพฺพิชฺชนา : อิต. ความยุ่งยากใจ, ความหวาดเสียว, ความกลัว
  24. อุพฺพิล : นป. ความเบิกบาน, ความปลื้มใจ
  25. อุพฺพิลาวิตตฺต : นป. ความเป็นผู้เบิกบานใจ, ความชื่นบาน
  26. อุพฺเพค : ป. ความตื่นเต้น
  27. อุพฺเพคี : ค. มีความกลัว; มีความหวาดเสียว
  28. อุพฺเพชนิย อุพฺเพชนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่ง ความหวาดเสียว, ฯลฯ.
  29. อุพฺเพฐน : นป. ความห่อหุ้ม, ความผูกมัด
  30. อุพฺภ : (ปุ. นปุ.) ความเต็ม, ความบริบูรณ์. อุพฺภฺ ปูรเณ, อ.
  31. อุพฺภนา อุภนา : (อิต.) ความเต็ม, ฯลฯ. ศัพท์ หลังลบ พฺ หรือตั้ง อุภฺ ปูรเณ, ยุ.
  32. อุพฺภว : (ปุ.) การเกิด, ความเกิด. วิ. อุทฺธํ ภวนํ อุพฺภโว.
  33. อุมฺมาทนา : อิต. ความเป็นบ้า, ความวิกลจริต
  34. อุมา : อิต. ความโชติช่วง, ความเปล่งปลั่ง
  35. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  36. อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
  37. อุยฺโยค : ป. การประกอบ, การกระทำ; การออกไป, ความเสื่อม, ความวอดวาย
  38. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  39. อุรตฺตาสึ : ก. วิ. ตีอกชกตัวเอง (แสดงความเสียใจ)
  40. อุรุนฺทา : อิต. ความโล่งอก, การหายใจสะดวก
  41. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  42. อุลฺโลลนา : อิต. ความโลเล, ความเหลาะแหละ, ความไม่เพียงพอ, ความอยาก
  43. อุส : (ปุ.) ความเร่าร้อน. อุสฺ ทาเห, อ.
  44. อุสฺสกฺก : (ปุ.?) ความกังวล, ความเอาใจใส่. อุปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, อ.
  45. อุสฺสนฺนตา : อิต. ความพอกพูน, ความหนาขึ้น, ความเต็ม
  46. อุสฺสย : (ปุ.) ความสูงขึ้น, ความชัน. อุปุพฺโพ, สิ คติยํ, โณ.
  47. อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
  48. อุสฺสหน : นป. อุตสาหะ, ความเพียร, ความอาจ, ความสามารถ
  49. อุสฺสาท : ป. ความเต็มเปี่ยม, ความมากมาย; ความวุ่นวาย, เสียงกึกก้อง
  50. อุสฺสาวน : นป. การประกาศ, การแจ้งความ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | [3751-3800] | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0995 sec)