Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 2551-2600
  1. สาตจฺจการี : ป. ผู้กระทำความเพียรติดต่อกันไป
  2. สาตฺถ : ค. มีประโยชน์, มีเนื้อความ
  3. สาตสิต : (วิ.) อาศัยแล้วซึ่งความยินดี, ฯลฯ.
  4. สาตาวห : (วิ.) อันนำมาซึ่งความยินดี, ฯลฯ.
  5. สาทน : (นปุ.) ความหวาน, ฯลฯ, ความสุข. ยุ ปัจ.
  6. สาทร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความเคารพ, เป็นไปกับด้วยความเอื้อเฟื้อ, เป็นไปกับด้วยความเอาใจใส่.
  7. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  8. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  9. สาธิก : ค. มีความสำเร็จ
  10. สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
  11. สาธุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ความดี, ความใคร่ความดี.
  12. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  13. สานฺตวาน : (นปุ.) ความเอ็นดู.
  14. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  15. สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
  16. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  17. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  18. สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
  19. สามฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งของคล้ายกัน, ความเป็นแห่งของเสมอกัน, ความเป็นแห่งของเท่ากัน, ความเป็นแห่งของควร. สม+ณิย ภาวตัท. ความเสมอกัน, ความเท่ากัน,, ความควร. ณฺย ปัจ. สกัด.
  20. สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ
  21. สามี : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
  22. สายน : (นปุ.) ความยินดี, ความเพลิน, การลิ้ม, การจิบ. สา อสฺสาทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ. แปลง ยุ เป็น อน.
  23. สายิต : (นปุ.) ความยินดี, ฯลฯ, การจิบ. ต ปัจ. อิอาคม.
  24. สารกฺข : ค., ป. การรักษาอย่างดี, มีการรักษา
  25. สารชฺช : (นปุ.) ความครันคร้าม, ความไม่แกล้วกล้า. สารท+ณฺย ปัจ. สกัด วิ. สารทสฺส ภาโย สารชฺชํ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  26. สารมฺก : (ปุ.) ความแข่งดี, ความเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความริเริ่ม, ความแข่งขัน. สํ อา ปุพฺโฑ, รกฺ กรณวายามเนสุ. อ.
  27. สารมฺภกถา : (อิต.) ถ้อยคำอันเป็นไปกับความเริ่มแรก.
  28. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  29. สาราณิย : (วิ.) อัน...พึงระลึก, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก.
  30. สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
  31. สาลย : ค. มีความอาลัย
  32. สาสงฺก : ป. ความสงสัย
  33. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  34. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  35. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  36. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  37. สิชฺฌน : นป. ความสำเร็จ
  38. สิทฺธตฺต : (นปุ.) ความเห็น, ลัทธิ.
  39. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  40. สิทฺธนฺต : (ปุ.) ความเห็น, ลัทธิ. วิ. ฐโต ปกฺโข สิทฺธนฺโต. สิทฺโธ อนฺโต อเนนาติ สิทฺธนฺโต.
  41. สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
  42. สินฺท : (ปุ.) ความเย็น. สิทิ สีติภาเว, อ.
  43. สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  44. สิเนหก : (ปุ.) เพื่อน (ผู้มีความรัก, ฯลฯ). ณฺวุปัจ.
  45. สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  46. สิเนหปภว : (วิ.) มีความรักเป็นแดนเกิดก่อน.
  47. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  48. สิพฺพนี : อิต. หญิงช่างเย็บ; ความอยาก
  49. สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
  50. สิลาฆา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. สิลาฆฺ กตฺถเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | [2551-2600] | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0997 sec)