Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 251-300
  1. กายวงฺก : ป. ความคดแห่งกาย, ความประพฤติที่ไม่ซื่อตรงทางกาย, กายทุจริต
  2. กายวิการ : ป. กายวิการ, ความพิการทางร่างกาย
  3. กายวิชมฺภน : นป. ความว่องไวของร่างกาย, การบิดกาย
  4. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  5. กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
  6. กายวิเวก : ป. ความสงัดกาย, ที่สงัดเงียบกาย, กายสันโดษ
  7. กายสญฺเจตนา : อิต. ความจงใจทำด้วยกาย, ความแกล้งทำด้วยกาย
  8. กายสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสด้วยกาย, ความรู้สึกทางสัมผัส
  9. กายสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติดีด้วยกาย, ความประพฤติชอบด้วยกาย, ความประพฤติดีทางกาย. กายสิทฺธิ
  10. กายสุจริต : นป. กายสุจริต, ความประพฤติชอบทางกาย
  11. กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
  12. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  13. กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
  14. กายินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในกาย, ความเป็นใหญ่คือกาย, ความเป็นใหญ่ใน หน้าที่ของตนคือกาย?
  15. กายุชฺชุกตา : อิต. ความตรงของกาย
  16. การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
  17. การุญฺญ : นป., การุญฺญตา อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  18. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  19. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  20. กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
  21. กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
  22. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  23. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  24. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  25. กาฬกณฺณี : อิต. ความจัญไร, ความเป็นเสนียด
  26. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  27. กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
  28. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  29. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  30. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  31. กิญฺจน : (นปุ.) กิเลสชาตเครื่องกังวล, ความกังวล, ความห่วงใย, กิเลสชาตผู้ย่ำยีสัตว์ วิ. กิญฺเจติ สตฺเต มทฺทตีติ กิญฺจนํ. กิจิ มทฺทเน, ยุ.
  32. กิฏฐารกฺข : ป. คนรักษาข้าวกล้า, คนเฝ้าไร่นา
  33. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  34. กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
  35. กิตฺติวณฺณ : ป., นป. การพรรณนาคุณงามความดี, การยกย่อง
  36. กิพฺพิส : (นปุ.) บาป, โทษ, ความผิด. วิ. กโรติ อนิฏฺฐ ผลนฺติ กิพฺพิสํ. กรียตีติ วา กิพฺพิสํ. กรฺ กรเณ, อิพฺพิโส. กิลฺยเต สิถิลี กรียเต อเนนาติ วา กิพฺพิสํ. กลฺ สิถิเล. ลบที่สุดธาตุ.
  37. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  38. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  39. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  40. กิลมณ กิลมน : (นปุ.) ความลำบาก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  41. กิลมถ : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเจ็บไข้. กิลมฺ หาสกฺขเย, โถ, อโถ วา.
  42. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  43. กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
  44. กิเลทน : (นปุ.) ความเปียก, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  45. กิเลสกฺขย : ป. ความสิ้นแห่งกิเลส
  46. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  47. กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
  48. กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
  49. กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
  50. กีฬนา : อิต. การเล่น, การเล่นกีฬา, ความร่าเริง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0792 sec)