Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 3701-3750
  1. อุตฺตาสวนฺตุ : ค. มีความสะดุ้ง, มีการหวาดผวา
  2. อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.
  3. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  4. อุทฺทสฺเสติ : ก. แสดง (ตน), แสดงตัว, ปรากฏตัว, เปิดเผย, แสดงความประสงค์
  5. อุทฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจองจำ, พวง, มัด, คำเป็นที่รวบรวมไว้ คือรักษาไว้มิให้กระจัดกระจาย. อุปุพฺโพ, ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. เท รกฺขเณ วา, ยุ.
  6. อุทฺทาม : (วิ.) คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยว รั้ง. อุปุพฺโพ, ทมฺ คมเน, โณ. ส. อุทฺทาม.
  7. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  8. อุทฺธฏ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน. วิ. อุทฺธํ อฏติ จิตฺต เมเตนาติ อุทฺธฏํ. อุทฺธํปุพฺโพ, อฏฺ คมเน, อ.
  9. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  10. อุทฺธู : (ปุ.) ความหวั่นไหวในเบื้องบน.
  11. อุทยตฺถิก : ป. ผู้ปรารถนาความเจริญ
  12. อุทยน : นป. การขึ้นไป, ความเจริญ
  13. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  14. อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.
  15. อุทยพฺพยานุปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นความเกิดขึ้นและเสื่อมไป
  16. อุทาคจฺฉติ : ก. บรรลุ, ถึงความสำเร็จ
  17. อุทานคาถา : (อิต.) คำที่เปล่งขึ้นด้วยความเบิกบานใจ.
  18. อุนฺนติ : (อิต.) ความพองของจิต, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, ความยกตน. วิ. อุนฺนมนํ อุนฺนติ. ติ ปัจ. ส. อุนฺนติ การยก, ความรุ่งเรือง, ความเจริญขึ้น.
  19. อุนฺนมน : (นปุ.) ความฟูขึ้น, ความสูง, ความสูงขึ้น. ยุ ปัจ.
  20. อุนฺนฬ : (ปุ.) ความมีมานะดังว่าไม้อ้อสูง, ความเชิดตัว.
  21. อุปกปฺปน : นป. ความสัมฤทธิ์ผล, การบังเกิดผล
  22. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  23. อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
  24. อุปการ : (ปุ.) คุณเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, ฯลฯ (ดู อุปกรณ)ความอุดหนุน, ฯลฯ, ประโยชน์, อุปการะ. วิ. อุปคนฺตฺวา กโรตีติ อุปกาโร. ณ ปัจ. ส. อุปการ.
  25. อุปค : (ปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  26. อุปคมน : (นปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  27. อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
  28. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  29. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  30. อุปทฺทว : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปประทุษ ร้าย, อันตรายเครื่องเข้าไปเบียดเบียน, ความคับแค้น, ความลำบากยากแค้น. ความอัปรีย์, ความจัญไร, จัญไร, อันตราย, อุปัททวะ, อุบาทว์. วิ. อุปคนฺตวา ทุโนตีติ อุปทฺทโว. อุปปุพฺโพ, ทุ ปริตาเป หึสายํ วา, อ. อุปคนฺตฺวา ทวตีติ วา อุปทฺทโว. อุปทวนํ วา อุปทฺทโว. ส. อุปทฺรว.
  31. อุปทสฺสก : ป. คนนำทาง, คนชี้แจง, คนรักษาประตู
  32. อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
  33. อุปเทห : ป. น้ำมันทารักษาโรค
  34. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  35. อุปนยฺหนา : อิต. การเข้าไปผูกความมุ่งร้าย, การผูกพยาบาท, การเข้าไปผูกมั่น
  36. อุปนาห : (ปุ.) การผูกเวร, การจองเวร, การผูกโกรธ, ความผูกเวร, ฯลฯ. วิ. ปุนปฺปุนํ อุปคนฺตฺวา. นยฺหติ จิตฺตนฺติ อุปนาโห. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โณ.
  37. อุปนิกฺขิตฺตก : ๑. ป. จารบุรุษ, คนสืบความลับ; ๒. ค. ดู อุปนิกฺขิตฺต
  38. อุปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งด้วยใจ, การพินิจ, การพิจารณา, ความเพ่งด้วยใจ, ฯลฯ. อุป นิ ปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  39. อุปนิชฺฌายน : นป. ความพินิจ, การไตร่ตรอง
  40. อุปนิพนฺธ : ๑. ป. ความเกี่ยวพัน; ๒. ค. เกี่ยวพัน
  41. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  42. อุปฺปฏิปาฏิ : อิต. ความไม่เป็นไปตามลำดับ, ความไม่สม่ำเสมอ
  43. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  44. อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
  45. อุปฺปาทนิโรธ : (ปุ.) ความเกิดขึ้นและความดับ.
  46. อุปฺปาทวยธมฺมิน : (วิ.) มีอันเกิดขึ้นและอัน เสื่อมไปเป็นธรรมดา, มีความเกิดขึ้นและ ความเสื่อมไปเป็นธรรมดา. อุปฺผณฺฑน อุปฺผนฺทน (นุป.) ความหมั่น, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, ผทิ กิญฺจิจลเน, ยุ, ปฺสํโยโค.
  47. อุปพฺรูหน : นป. ความเจริญ, การเพิ่มขึ้น, การขยายตัว
  48. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  49. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  50. อุปโยค : (ปุ.) การเข้าไปประกอบ, การประกอบเข้า, การใช้สอย, ความเข้าไปประกอบ, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, โณ. ส. อุปโยค.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | [3701-3750] | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0940 sec)