Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 351-400
  1. เกฬนา : อิต. ความอยาก, ความปรารถนา, ความโลภ
  2. เกฬายน : นป. ความปรารถนาจะเล่น, ความอยากเล่น
  3. โกฏฐาคาริก : ป. เจ้าหน้าที่รักษาคลัง, คนรักษาโกดัง
  4. โกฏิลฺล : นป. ความคดโกง
  5. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  6. โกตุก : นป. แหวนแต่งงาน; ความประหลาดใจ
  7. โกตูหล, - หฬ : นป. ความอึกทึก, ความครึกโครม
  8. โกธ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความเคือง, ความโกรธ, ความโกรธขึ้ง, ความขึ้งเคียด, ความดุร้าย, ความโหดเหี้ยม, ความจำนงภัย. วิ. กุชฺฌนํ โกโธ. คนผู้โกรธ, คนโกรธ. กุชฺฌตีติ โกโธ. กุธฺ โกเป, โณ.
  9. โกธครุ : ค. ผู้หนักในความโกรธ, ผู้มักโกรธ
  10. โกธน : (นปุ.) ความกำเริบ, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  11. โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
  12. โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
  13. โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
  14. โกธวินย : ป. การบรรเทาความโกรธ, การกำจัดความโกรธ
  15. โกธสามนฺต : (วิ.) ใกล้ต่อความโกรธ, ฯลฯ.
  16. โกธาภิถู : (วิ.) ผู้ครอบงำความโกรธ. เป็นฝ่ายดี. ผู้อันความโกรธครอบงำ. เป็นฝ่ายชั่ว.
  17. โกธาภิภูต : (วิ.) ผู้ครอบงำแล้วซึ่งความโกรธ, ผู้อันความโกรธครอบงำแล้ว, ผู้ขี้โกรธ.
  18. โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
  19. โกปนฺตร : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจความโกรธ
  20. โกปเนยฺย : ค. เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ
  21. โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
  22. โกมารภจฺจ : ๑. นป. วิชาสำหรับรักษาโรคเด็ก, กุมารเวชวิทยา; ๒. ค. ผู้ที่เจ้าชายชุบเลี้ยง (หมายถึงหมอชีวกโกมารภัจ)
  23. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  24. โกสล : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนฉลาด, ความเป็นคนฉลาด, ความเป็นผู้ฉลาด. วิ. กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  25. โกสลฺล : นป. ความเป็นคนฉลาด
  26. โกสารกฺข : ป. ขุนคลัง, บุคคลที่รักษาคลังหรือยุ้งฉาง
  27. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  28. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  29. ขจร : (วิ.) ไปในอากาศ, ฯลฯ. ขจร(ขะจอน) กำจร ไทยใช้เป็นคำกิริยาในความว่า ฟุ้งไป กระจายไป ระบือไป ดังไป.
  30. ขฏ : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม (รากมี กลิ่นหอมใช้ทำยาไทย), กร, มือ, กระพุ่ม มือ, ความปราถนา. ขฏฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ขฏ.
  31. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  32. ขณิกตฺต : นป. ความมีเพียงชั่วครู่ชั่วยาม; ความหายไป
  33. ขตก : นป. ความเสียหาย, ความบาดเจ็บ
  34. ขตฺติยมาน : ป. ขัตติยมานะ, มานะว่าเป็นกษัตริย์, มานะของกษัตริย์, ความถือตัวว่าเป็นกษัตริย์
  35. ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
  36. ขนฺติก : ค. ผู้อดทน, ความนิ่งเฉย
  37. ขนฺติ, - ขนฺตี : อิต. ความอดทน, ความอดกลั้น
  38. ขนฺติมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีความอดทน, ฯลฯ. มนฺตุ ปัจ.
  39. ขนฺติมนฺตุ, ขนฺตุ : ค. มีความอดทน
  40. ขนฺธสนฺตาน : (นปุ.) ความสืบต่อแห่งขันธ์.
  41. ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
  42. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  43. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  44. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  45. ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
  46. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  47. ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
  48. ขรตฺต : นป. ความขรุขระ, ความหยาบ
  49. ขลน : (นปุ.) การไหว, ความไหว, ฯลฯ. ขลฺ จลเน, ยุ.
  50. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0818 sec)