Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 1151-1200
  1. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  2. เทสฺสตา : อิต. ความเป็นสิ่งน่ารังเกียจ, ความน่าเกลียดน่าชัง, ความน่าขยะแขยง
  3. โทภคฺค : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนโชคร้าย (คนมีความดีเสีย คนเสียความดี). วิ. ทุภคสฺส ภาโว โทภคฺคํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑
  4. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  5. โทมนสฺสปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งโทมนัส, ผู้ประสพความทุกข์ใจ, ผู้เป็นทุกข์ใจ
  6. โทมนสฺสุปวิจาร : ป. การไตร่ตรองถึงอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส, การใคร่ครวญถึงอารมณ์ที่ก่อให้เกิดความทุกข์ใจ
  7. โทวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยยาก, ฯลฯ. ทุวจ+ณฺยปัจ. ดู โทมนสฺสประกอบ. รูปฯ๓๗๑
  8. โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
  9. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  10. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  11. โทสกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งโทสะ
  12. โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
  13. โทสนิย, - นีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ, ซึ่งก่อให้เกิดความขัดเคือง
  14. โทสาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความไม่ แช่มชื่น, ความลำเอียงเพราะความไม่ชอบ, ความลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน, โทสาคติ. อคติ ๔ ข้อที่ ๒.
  15. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  16. ธญฺชน : (นปุ.) การไป, ความไป, ธชฺ คติยํ, ยุ, นิคฺคหิคาคโม.
  17. ธนกฺขย : นป. ความสิ้นไปแห่งทรัพย์สมบัติ
  18. ธนตฺต : นป. ความเป็นผู้อยากได้ทรัพย์
  19. ธนปาล : ป. ผู้รักษาทรัพย์, ผู้เฝ้าทรัพย์, ช้างธนบาล
  20. ธนาสา : อิต. ความหวังในทรัพย์, ความปรารถนาทรัพย์
  21. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  22. ธมฺมคารว : (วิ.) มีความเคารพซึ่งธรรม, ฯลฯ.
  23. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  24. ธมฺมคุตฺต : ค. ผู้อันธรรมคุ้มครองแล้ว, ผู้อันธรรมปกปักรักษาแล้ว
  25. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  26. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  27. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  28. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  29. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  30. ธมฺมตฺถเทสนา : อิต. การแสดงธรรมหรือความหมายแห่งข้อธรรม
  31. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  32. ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
  33. ธมฺมทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งธรรม, การให้ซึ่งความรู้, การให้ธรรม, การให้ความรู้.
  34. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  35. ธมฺมนาถ : (ปุ.) ชนผู้มีธรรมเป็นใหญ่, ชนผู้ รักษากฎหมาย
  36. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  37. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  38. ธมฺมปชฺโชต : ป. ความโชติช่วงแห่งธรรม, ความรุ่งเรืองแห่งธรรม
  39. ธมฺมปฏิสมฺภิณาฌ : (นปุ.) ความรู้ (ปัญญา) อันแตกฉานในเหตุที่ทำให้เกิด ผล
  40. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  41. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  42. ธมฺมปาล : (วิ.) ผู้รักษาซึ่งธรรม. ผู้รักษาธรรม.
  43. ธมฺมปีฐ : (นปุ.) ตั่งอันบุคคลตั้งไว้เพื่อรักษา ธรรม, ที่นั่งอันบุคคลตั้งไว้สำหรับแสดง ธรรม, ธรรมาสน์.
  44. ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
  45. ธมฺมภูติ : (อิต.) ความเป็นเพียงดังเหตุ, ความรุ่งเรืองด้วยธรรม, ฯลฯ.
  46. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  47. ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
  48. ธมฺมรกฺขิต : อิต. ผู้อันธรรมรักษาแล้ว
  49. ธมฺมรติ : (อิต.) ความยินดีในธรรม.
  50. ธมฺมรส : (ปุ.) รสแห่งธรรม, รสของธรรม, รส อันเกิดแล้วจากธรรม, ธรรมรส (ความชื่นชมยินดี ความอิ่มใจ ความพอใจ อัน เกิดจากการปฏิบัติตามธรรม).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0901 sec)