Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 901-950
  1. ตินฺติณ : ๑. นป. ความจะกละ, ความอยาก, ความปรารถนา, ความติเตียน; ๒. ค. ผู้จะกละ, ผู้อยากได้
  2. ติมิร, ติมิส : ๑. นป. ความมืด, หมอก; ๒. ค. มืด, มัว
  3. ติมิรายิตตฺต : นป. ความมืด, ความมัว
  4. ติมิส : (นปุ.) ความมืด, มืด, บอด, หมอก.ติมุ กํขายํ เตมเน วา, อิโส.
  5. ติรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ, การดูแคลน, การดูหมิ่น, การดูถูก, ความดูแคลน, ฯลฯ. ส. ติรสฺการ.
  6. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  7. ติโรคฺคาร : ป. การดูหมิ่น, การดูแคลน, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  8. ติโรจน : (นปุ.) ความงดงามยิ่ง, ความรุ่งเรืองยิ่ง, ความสว่างไสวยิ่ง.
  9. ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
  10. ตีรณปริญฺญา : (อิต.) ความรอบรู้อันเกิดจาก การตรวจตรา, ความรอบรู้อันเกิดเพราะ ความตรวจตรา, ฯลฯ, ความกำหนดรู้ด้วย การตรวจตรา, ฯลฯ.
  11. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  12. ตุจฺฉา : (อิต.) ความเปล่า, ฯลฯ, ตุทนํ ตุจฺฉา. ตุทฺ พฺยถเน, โฉ, ทสฺส โจ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘.
  13. ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ  ลบที่สุดธาตุ.
  14. ตุฏฺฐทาย : (ปุ.) ของกำนัล ของรางวัล ( ให้ด้วย ความยินดี).
  15. ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
  16. ตุฏฺฐิ : อิต. ความยินดี, ความร่าเริง
  17. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  18. ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
  19. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  20. ตุณฺหีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีความนิ่งเป็นแล้ว, เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว.
  21. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  22. ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
  23. ตุลฺยตา : อิต. ความเสมอกัน
  24. ตุลาการ : (ปุ.) ตุลาการ ชื่อบุคคลผู้ทำหน้าที่ตัดสินคดี, ชนผู้สร้างความเป็นธรรมแก่สังคม.
  25. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  26. ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
  27. ตุสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความอยาก, ความกระหายน้ำ, ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อุตฺตํ.
  28. เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
  29. เตช : (ปุ.) ความคม, พระอาทิตย์, เตชะ ชื่อ ไฟชื่อ ๑ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. ติชฺ นิสาเน ทิตฺติยญฺจ, โณ.
  30. เตชวนฺตุ : ค. ผู้มีฤทธิ์, ผู้มีเดช, ก่อให้เกิดความร้อน, มีความร้อน
  31. เตโชชย : (ปุ.) ความชนะด้วยกำลัง, ฯลฯ.
  32. เตมิตุกาม : (วิ.) มีความปรารถนาเพื่ออันเปียก, มีความปรารถนาเพื่อจะเปียก, มีความต้องการเพื่อจะเปียก. เตมิตุ+กาม ลบ นิคคหิต.
  33. โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
  34. โตส : (ปุ.) ความยินดี, ฯลฯ, ความให้ยินดี, ฯลฯ. ตุสฺ ตุฏฺฐิยํ, อ, ยุ. ส. โตษ.
  35. โตสนา : อิต., โตสาปน นป. การทำให้ร่าเริงหรือให้ความยินดี
  36. : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
  37. ถมฺภนา : อิต. ความแข็ง, ความกระด้าง
  38. ถมฺภิตตฺต : นป. ความเคร่งตึง
  39. ถมฺภี : ค. ผู้มีความหัวดื้อ, ความดื้อรั้น
  40. ถวนา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. ถุ อภิตฺถเว ยุ.
  41. ถาม : (ปุ.) กำลัง, กำลังใจ, เรี่ยวแรง, ความแก่กล้า. วิ. ติฏฺฐนฺติ เอเตนาติ ถาโม. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โม. ฐสฺส ถตฺตํ หรือ ตั้ง ถา ธาตุ ม ปัจ.
  42. ถามคตทิฏฺฐิก : ค. ผู้มีทิฐิอันถึงความแข็งแรง, ผู้มีความเห็นผิดแรงกล้า
  43. ถาวริย : นป. ความถาวร, ความมั่นคง, ความทนทาน
  44. ถาวเรยฺย : นป. ความเป็นผู้มั่นคง, ความเป็นเถระ
  45. ถิติ : (อิต.) อันตั้งอยู่, ความตั้งอยู่, ฯลฯ, ชีวิต. ถา+ติ ปัจ. เอา อา เป็น อิ.
  46. ถิรตา : อิต. ความมั่นคง, ความไม่หวั่นไหว, ความคงทน
  47. ถีนมิทฺธ : (นปุ.) ความหดหู่และความเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาและความหาวนอน.
  48. ถุติ : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยกย่อง, การสรรเสริญ, ความชม, ฯลฯ, คำชม, ฯลฯ, ความชอบ, สดุดี. วิ. ถวนฺ ถุติ. ถุ อภิตฺถเว, ติ เป็น ปุ บ้าง. ส. สฺตุติ.
  49. ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
  50. ถูลตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของหนา, ความเป็นของหนา. ถูล+ตฺต ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0989 sec)