Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 2851-2900
  1. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  2. อติปฺปญฺจ : ป. ความเนิ่นช้ายิ่ง
  3. อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
  4. อติเรกตา : อิต. ความมากยิ่ง, ความเหลือเฟือ
  5. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  6. อติโรจน : (นปุ.) ความงดงามยิ่ง, ความรุ่ง เรืองยิ่ง, ความสว่างไสวยิ่ง.
  7. อติวตฺตน : นป. ความเป็นไปล่วง, ความครอบงำ
  8. อติสร : ค. มีความทุกข์ยิ่ง ; แล่นเลยไป
  9. อตีตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอดีต.อตีต+อํส+ญาณ.
  10. อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  11. อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  12. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  13. อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
  14. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  15. อเทฺวชฺฌตา : ค.ความไม่เป็นสอง,ความไม่สงสัย
  16. อโทส : (วิ.) ไม่มีความประทุษร้าย, ไม่มีโทสะ, ไม่มีโทษ.
  17. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  18. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  19. อธิการิก : ค. ผู้บำเพ็ญความดี, อันอ้างอิงถึง
  20. อธิเชคุจฺฉ : นป. ความน่าเกลียด, ความสะอิดสะเอียน
  21. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  22. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  23. อธิฏฺฐาน : นป. ความตั้งใจแน่วแน่, การอธิษฐาน, การติดแน่น, ที่อยู่อาศัย
  24. อธิฏฺฐายก : ๑. ป. ผู้ดูแล, ผู้รักษา; ๒. ค. ซึ่งดูแล, ซึ่งรักษา
  25. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  26. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  27. อธิปฺปาย : ป. ความตั้งใจ, ความปรารถนา, ความประสงค์
  28. อธิปฺปาโยส : ป. ความแตกต่าง, ลักษณะพิเศษ, ความหมายพิเศษ
  29. อธิปฺเปตตฺต : นป. ความเป็นของอัน.....ประสงค์แล้ว, ความเป็นของต้องประสงค์
  30. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  31. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  32. อธิมตฺตตา : อิต. ความเป็นของมีค่ายิ่ง
  33. อธิมน : นป. ความตั้งใจ, ความจดจ่อ
  34. อธิมาน : ป. ความทะนงตัว, ความเย่อหยิ่ง
  35. อธิมานิก : ค. มีความเย่อหยิ่ง, ผู้อวดดี
  36. อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ย ปัจ.ประจำธาตุ ยุ ปัจ.
  37. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  38. อธิมุตฺติ : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ฯลฯ.ติปัจ.ส.อธิมุกฺติ.
  39. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  40. อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
  41. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  42. อธิวาสนา : (อิต.) การรับรอง, ความรับรอง.
  43. อธิวุตฺติ : อิต. การพูด, การแสดง, ความเห็น
  44. อธิสีล : (นปุ.) คุณชาตอันอาศัยซึ่งศีลเป็นไป, คุณชาตอันเป็นไปอาศัยซึ่งศีล, (สีลสฺสอธิ-กิจฺจปวตฺตนํ)ศีลยิ่ง, ศีลอย่างสูงคือการรักษาอย่างประณีต.วิ.อธิกํสีลํอธิสีลํ.ส.อธิศีล.
  45. อโธคติ : (อิต.) ความไปต่ำ, ความต่ำต้อย, ความต่ำทราม.
  46. อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
  47. อนฆ : (วิ.) ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความทุกข์, ไม่มีความวิบัติ, ไม่มีความฉิบหาย.น+อฆ.
  48. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  49. อนฺตคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งที่สุด, ผู้ชนะความทุกข์.
  50. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | [2851-2900] | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.1023 sec)