Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 1551-1600
  1. ปธานิก : ค. ผู้บำเพ็ญเพียร, ผู้ประกอบความเพียร
  2. ปธานิย : ค. ซึ่งเนื่องด้วยความเพียร, ซึ่งควรประกอบความเพียร
  3. ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
  4. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  5. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  6. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  7. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  8. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  9. ปนุนฺนาท : (ปุ.) ชุมเห็ด ( รักษาหิด ). ดู ปปุนฺนาฏ เทียบ.
  10. ปนูติ : (อิต.) ความชม, ความชมเชย, ความสรรเสริญ. ปปุพฺโพ, นุ ถุติยํ, ติ, ทีโฆ.
  11. ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
  12. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  13. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  14. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  15. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  16. ปปญฺจา : (อิต.) ความเนิ่นช้า, ฯลฯ, ปปัญจา ชื่อของตัณหา, ตัณหา.
  17. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  18. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  19. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  20. ปพฺพชา : (อิต.) การออก, การออกไป ( จาก เรือน คือบวช ), การบวช, การออกบวช. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. การค้นหา การแสวงหา ( ความพ้นทุกข์ ) . วชฺ มคฺคเน.
  21. ปพฺเพธ : ป. ความกว้าง (วัดด้วยชั่วธนูตก)
  22. ปภา : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ความรุ่งเรืองโดยประการต่าง ๆ วิ. นานาปกาเรน ภาตีติ ปภา. ความรุ่งเรืองโดยประการ วิ. ปกาเรน ภาติ ทิพฺพตีติ ปภา. กัจฯ ๖๓๙ และอภิฯ รูปฯ ๕๖๙ วิ. ปภาตีติ ปภา. อภิฯ กัจฯ และ รูปฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  23. ปภาเสติ : ก. ให้สว่าง, ให้ความสว่าง, ทำให้รุ่งเรือง, สาดแสงให้
  24. ปภุตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล. ปภุ + ตฺต ปัจ. ภาวตัท.
  25. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  26. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  27. ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
  28. ปมาทวตา : อิต. ความเป็นผู้มีความประมาท
  29. ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  30. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  31. ปมุญฺจน : (นปุ.) ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  32. ปมุตฺติ : อิต. การปลดปล่อย, ความหลุดพ้น, ความเป็นอิสระ
  33. ปมุตฺย : นป. ความเป็นผู้หลุดพ้น
  34. ปมุท : ป. สัตว์; ความยินดี, ปราโมทย์
  35. ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
  36. ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
  37. ปโมท : ป. ปราโมทย์, ความบันเทิง, ความร่าเริง, ความยินดี, ความเบิกบาน
  38. ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
  39. ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
  40. ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  41. ปยน : (นปุ.) ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, อิ คติยํ, ยุ.
  42. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  43. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  44. ปโยคตา : อิต. ความประกอบ, ความนำไปใช้
  45. ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
  46. ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
  47. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  48. ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
  49. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  50. ปโยเวค : (ปุ.) ความไหลไปแห่งน้ำ, กระแสน้ำ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | [1551-1600] | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.1500 sec)