Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 1951-2000
  1. ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
  2. ภสฺสารามตา : อิต. ความพอใจในการพูดเหลวไหล
  3. ภา : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รัศมี, ความสว่าง, ความรุ่งเรือง. ภา ทิตฺติยํ, อ.
  4. ภาชน : (นปุ.) การแจก, การจำแนก, ความแจก, ความจำแนก, วัตถุเป็นที่แบ่ง. ภชฺภาชเน, ยุ, ภาชฺ วา ปุถกมฺมนิ.
  5. ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
  6. ภาวน : (นปุ.) คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ.
  7. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  8. ภาวี : ค., ป. ซึ่งมี, ซึ่งเป็น, ความมี, ความเป็น
  9. ภาสิต : (นปุ.) คำอัน...พึงกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, คำกล่าว, คำที่กล่าว, ภาสิต ภาษิต คือคำกล่าวที่มีคติความฟัง คำกล่าวที่เป็นประโยชน์. ภาสฺ+ต ปัจ. อาคม.
  10. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  11. ภิกฺขุนี : (อิต.) ภิกษุณี พระผู้หญิง ของพระพุทธ ศาสนา เป็นบริษัทที่ ๒ ในบริษัท ๔. ภิกฺขุ+อินี อิต. เป็นพระที่บวชจากสงฆ์ ๒ ฝ่าย คือจากภิกษุณีสงฆ์ และภิกษุสงฆ์รักษาสิกขาบท (ศีล) ๓๑๑ สิกขาบท.
  12. ภิกฺขุภาว : ป. ความเป็นภิกษุ
  13. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  14. ภิยฺโยภาว : (ปุ.) ความเจริญยิ่ง.
  15. ภิสินี : (อิต.) สระมีดอกบัว, สระบัว, ความสะดุ้ง.
  16. ภีติ : อิต. ความกลัว
  17. ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
  18. ภีรตา : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  19. ภึสน : (นปุ.) ความกลัว, ฯลฯ.
  20. ภุจฺจ : (นปุ.) ความเป็นจริง. ภูต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ แปลง ตยฺ เป็น จฺจ.
  21. ภุชิสฺส : (ปุ.) ความเป็นอิสระ, ความเป็นไทย. ภุชฺ ปาล-เน, อิโส. แปลง ส เป็น สฺส.
  22. ภู : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, นา, ที่นา, เขา, ภูเขา, ความเจริญ. ภู สตฺตายํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  23. ภูตตฺต : นป. ความบังเกิดขึ้น
  24. ภูธร : (ปุ.) เขา, ภู, ภูเขา. วิ. ภํ ภูมึ ธรตีติ ภูธโร. ภูปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ไทยใช้ภูธร เป็นพระนามของพระเจ้าแผ่นดินตามความหมายของสันสกฤต.
  25. ภูปาล : ป. ผู้รักษาแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน
  26. เภทปุเรกฺขารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ทำซึ่งการแตกกันในเบื้องหน้า.
  27. เภสม เภสฺม : (นปุ.) ความพึงกลัว, ความน่าสพึงกลัว. ภี ภเย, สฺมปจฺจโย. ศัพท์ต้นลง อ ปัจ. ประจำธาตุ.
  28. โภคมท : ป. ความเมาในสมบัติ
  29. : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
  30. มกฺข : (ปุ.) ความกล้าแข็ง, ความกลบเกลื่อน, ความลบหลู่, ความลบหลู่คุณท่าน, ความหักล้าง. มกฺขฺ มกฺขฺเน, อ.
  31. มคฺคามคฺคญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือภาวะมิใช่ทาง, ญาณเป็นเครื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง.
  32. มงฺกุภาว : ก. ความเป็นผู้เก้อ
  33. มงฺคลฺย : (นปุ.) ความที่แห่ง...เป็นมงคล, ความเป็นมงคล.
  34. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  35. มจฺจราช : (ปุ.) พระเจ้าแห่งความตาย, พระราชาคือมัจจุ, พญามัจจุ, พญา-มัจจุราช, พระยม, พญายม, ความตาย.
  36. มจฺจุ : (ปุ.) ความตาย วิ. มรณํ มจฺจุ. จุ ปัจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือลง ตฺยุ ปัจ. แปลงเป็น จุ ซ้อน จฺ หรือแปลง ตฺยุ เป็น จฺจุ อภิฯ รูปฯ ๖๔๔.
  37. มจฺจุปรายน : ค., มจฺจุปเรต กิต. มีความตายเป็นที่ไปในเบื้องหน้า
  38. มจฺจุปาส : ป. บ่วงแห่งความตาย
  39. มจฺจุมุข : นป. ปากแห่งความตาย
  40. มจฺจุราช : เจ้าแห่งความตาย
  41. มจฺจุวส : ป. อำนาจแห่งความตาย
  42. มจฺฉร, มจฺฉริย : นป. ความตระหนี่
  43. มจฺฉร มจฺเฉร : (วิ.) ตระหนี่, มีความตระหนี่, หวงแหน, เหนียวแน่น, เห็นแก่ตัว.
  44. มจฺฉริย : (นปุ.) ความตระหนี่, ฯลฯ. วิ. มจฺฉร เมว มจฺ-ฉริยํ. มจฺฉรภาโว วา มจฺฉริยํ. อิย ปัจ. สกัด.
  45. มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  46. มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
  47. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  48. มชฺฌิมภูมิ : (อิต.) ชั้นมีในท่ามกลาง, ฐานะมีในท่ามกลาง, มัชฌิมภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคนชั้นกลางในพระพุทธศาสนาหมายถึงความรู้ชั้นกลางคือนักธรรมชั้นโท หรือหมายถึงพระชั้นกลางมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา.
  49. มชฺเฌกลฺยาณ : (นปุ.) ความงามในท่ามกลาง, ความไพเราะในท่ามกลาง.
  50. มญฺจน : (นปุ.) การทรงไว้, ความทรงไว้. ยุ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | [1951-2000] | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.0956 sec)