Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พนักงานรักษาความปลอดภัย, พนักงาน, ปลอดภัย, รักษา, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : พนักงานรักษาความปลอดภัย, 3875 found, display 1351-1400
  1. นินฺทา : (อิต.) การกล่าวติเตียน, การกล่าว โทษ, ความติเตียน, คำติเตียน. นิทิ กุจฺฉาย์, อ. ส. นินฺทา.
  2. นินฺนตา : อิต. ความต่ำ, ความเอียง, ความเท
  3. นินฺนิมิตฺต : (นปุ.) นินนิมิต (ไม่มีนิมิต) คือ ความประพฤติตามอำเภอใจ (ยทิจฺฉา).
  4. นิปจฺจการ : ป. ความถ่อมตัว, ความเคารพ, ความเชื่อฟัง, ความสุภาพ, ความนับถือ, ความช่วยเหลือ
  5. นิปฐ : ป. ปาฐะ, การสอน, ความฉลาด, การเรียน, การหัดอ่าน
  6. นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
  7. นิปตฺติ : (อิต.) การสำเร็จ, ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  8. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  9. นิปฺปตฺติ : อิต. ความสำเร็จ
  10. นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
  11. นิปฺปาป : ค. ซึ่งไม่มีบาป, หมดความชั่ว
  12. นิปฺปิปาส : ค. ซึ่งไม่มีความกระหายหรือความอยากได้
  13. นิปฺปีติก : ค. ซึ่งไม่มีบิดา, ซึ่งไม่มีปีติความยินดี
  14. นิปฺผชฺช : (นปุ.) ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺย แปลง ป เป็น ผ ทฺย เป็น ชฺช ซ้อน ปฺ.
  15. นิปฺผชฺชน : นป. การเกิดผล, ความสำเร็จ, ความสมบูรณ์
  16. นิปฺผตฺติ : (อิต.) ความสำเร็จ. นิ+ปทฺ+ติ ปัจ. ส.นิษฺปตฺติ
  17. นิปฺผาณิตตฺต : นป. ความเป็นผู้หรือสิ่งที่ปราศจากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย
  18. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  19. นิปาตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, ฯลฯ, ความไม่เปลี่ยนแปลง.
  20. นิพตฺตน นิพฺพตฺตน : (นปุ.) การเกิด, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ, ปสฺส โพ, ทสฺส โต, ทฺวิตฺตํ. วตฺต วตฺตเน วา.
  21. นิพนฺธ : ป. ความผูกพัน, การยึดมั่น, การรัดรึง, ติดต่อกันไป; การรบเร้า
  22. นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
  23. นิพฺพน : ค. ซึ่งปราศจากป่าไม้, อันโล่งเตียน, อันปราศจากความอยากได้
  24. นิพฺพนถ : ค. ซึ่งปราศจากความมักมาก, ซึ่งหมดความอยากได้, อันไม่มีความรักใคร่, (ดู นิพฺพน ด้วย)
  25. นิพฺพาณ : นป. พระนิพพาน, การดับ, การทำลาย, ความสงบเย็น
  26. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  27. นิพฺพาติ : ก. พัด, ทำให้เย็น, ทำให้หมดความเร่าร้อน, ดับกิเลส, ดับทุกข์
  28. นิพฺพาตุ : อ. ความเย็น, ความดับ, เพื่อดับ
  29. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  30. นิพฺพานสญฺญา : อิต. ความหมายรู้พระนิพพาน
  31. นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
  32. นิพฺพายิตุ : อ. ความเย็น, ความดับ; เพื่อดับ
  33. นิพฺพาหติ : ก. นำออก, นำไป, ย้าย, เคลื่อน; ทำให้ปลอดภัย
  34. นิพฺพาหน : ๑. นป. การย้าย, ... เคลื่อนไป, ....นำออก, การชำระล้าง; ๒. ค. ซึ่งนำออก, ซึ่งเคลื่อนย้าย, อันทำให้ปลอดภัย
  35. นิพฺพิกปฺป : ป. ความเด่น, ความแตกต่าง
  36. นิพฺพิจิกิจฺฉา : อิต. ความแน่ใจ, ความไว้ใจ, การหมดข้อสงสัย
  37. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  38. นิพฺพิณฺณ : (ปุ.) ความเบื่อ, ความหน่าย, ความเบื่อหน่าย, ความเบื่อหน่ายในวัฏฏะ, ความจืดจาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ติฏฐยํ, โต.
  39. นิพฺพิท : (นปุ.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  40. นิพฺพิทา : (อิต.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  41. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  42. นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
  43. นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
  44. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  45. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  46. นิพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะ, การเจาะออก, การชำแรก, การแหวก, ความเจาะออก, ฯลฯ, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. นิปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  47. นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
  48. นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
  49. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  50. นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3875

(0.1105 sec)