Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 1051-1100
  1. เอกสิกตา : อิต. ความเป็นอันใดอันหนึ่ง, ความแน่นอน
  2. เอกูนอตฺตภาวสต : (นปุ.) ร้อยแห่งอัตภาพ หย่อนด้วยอัตภาพหนึ่ง, เก้าสิบเก้าอัตภาพ.
  3. เอตฺตาวตา : (อัพ. นิบาต) ด้วย...ประมาณเท่านี้.
  4. เอราวต : (ปุ.) มะแว้ง, มะสัง (ผลมีรสเปรี้ยว), หมากหนาม, ส้ม. วิ. อิราตีนทิยา ตีเร ชาโตติ เอราวโต.
  5. โอตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, ความข้ามลง. โอปุพฺโพ, ตรฺ ตรเณ, ยุ.
  6. โอตาปก : ค. แห้ง, สุก
  7. โอตาเปติ : ก. ตาก, ผึ่งให้แห้ง
  8. โอตารณ : นป. การก้าวลง, การหยั่งลง
  9. โอตาราเปกฺข : ค. ผู้คอยหาโอกาส
  10. โอตาเรติ : ก. ให้หยั่งลง, ให้ก้าวลง
  11. โอนต : กิต. ก้มลงแล้ว, เอนลงแล้ว
  12. โอมุตฺต : กิต. แก้ออกแล้ว, เปลื้องออกแล้ว
  13. โอสิตฺต : กิต. พรมแล้ว, โปรยแล้ว, วิดแล้ว
  14. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  15. ตณฺหาปจฺจย : ต. มีตัณหาเป็นปัจจัย, มีตัณหาเป็นเหตุ
  16. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  17. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  18. กตกิจฺจ : (วิ.) ผู้มีกิจอันทำแล้ว. ต. ตุล.
  19. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  20. กปฺปิต : (วิ.) มีการตกแต่งเกิดแล้ว วิ. กปฺปา กปฺปนา สญฺชาตา ยสฺมึ โส กปฺปิโต. ชาตตฺเถ อิโต. อันแต่งแล้ว. กปฺปฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  21. กปิกจฺฉุ กปิตจฺฉุ : (ปุ.) อเนกคูณคัน, อเนกคุณคัน, อเนกคุณ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทย. วิ กปินํ กจฺฉุ ชเนตีติ กปิกจฺฉุ. ณุ ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ก เป็น ต.
  22. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  23. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  24. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  25. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  26. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  27. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  28. กีลิต : (วิ.) ผูก, ฯลฯ, จำลอง, ดัก. ต ปัจ. อิ อาคม.
  29. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  30. กุฏฺฐ : (นปุ.) โกฐ ชื่อเครื่องยาจำพวกหนึ่งมี หลายชนิด วิ. กุยํ ปฐวิยํ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐํ. กุปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ. กุฏฺ เฉทเน วา, โฐ, โต วา. ถ้าลง ต ปัจ. ก็แปลง ต เป็น ฐ.
  31. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  32. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  33. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น ท
  34. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  35. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  36. คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
  37. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  38. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  39. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  40. คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
  41. คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
  42. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  43. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  44. จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
  45. จุต : (วิ.) ตก, พลัด, หล่น, เคลื่อน, ไป. จุ จวนคมเนสุ, ต.
  46. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  47. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  48. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  49. ชิฆจฺฉิต : (วิ.) ผู้มีความปรารถนาเพื่ออันกิน เกิดแล้ว วิ. ชิฆจฺฉา สญฺชาตา ยสฺส โส ชิฆจฺฉิโต ชิฆจฺฉา ศัพท์ ต ปัจ. อิ อาคม.
  50. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0920 sec)