Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 851-900
  1. อติตรติ : ก. ข้ามล่วง, ก้าวล่วง
  2. อติธาตา : อิต. ความอิ่มยิ่ง
  3. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  4. อติปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนยิ่ง
  5. อติภุตฺต : นป. การกินมากเกินไป
  6. อติมุตฺต : (ปุ.) ลำดวน, จำยาม, ส้มป่อย.
  7. อติเรกตา : อิต. ความมากยิ่ง, ความเหลือเฟือ
  8. อเทฺวชฺฌตา : ค.ความไม่เป็นสอง,ความไม่สงสัย
  9. อธิกจิตฺต : (นปุ.) จิตยิ่ง(จิตที่ได้บรรลุฌาน), จิตของบุคคลผู้ยิ่ง (จิตของผู้ได้ฌาน).
  10. อธิกต : (ปุ.) คนดูการ, คนทำการในวัง.วิ.อธิกํกโรตีติอธิกโต.อธิปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต.ลบที่สุดธาตุ
  11. อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
  12. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  13. อธิมตฺตตา : อิต. ความเป็นของมีค่ายิ่ง
  14. อธิมุตฺต : (นปุ.?)ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความน้อมใจเชื่อ, ความพอใจ, จิตนอนอยู่, อัชฌาสัย, อัธยาศัย.อธิปุพฺโพ, มุจฺ โมจเนนิจฺฉเย วา, โต, จสฺสโต.
  15. อธิวาสนตา : อิต. ดู อธิวาสน
  16. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  17. อนตฺตลกฺขณสุตฺต : (นปุ.) อนัตลักขณะสูตรชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวรรคึย์.
  18. อนตฺถตา : (อิต.) ความที่แห่งกรรมเป็นกรรมมิใช่ประโยชน์, ความเป็นแห่งกรรมมิใช่ประโยชน์.
  19. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  20. อนพฺภุณฺณตตา : อิต. ความเป็นของไม่ตั้งขึ้น
  21. อนวชฺชตา : (อิต.) ความไม่มีโทษ.
  22. อนฺวยตา : อิต. ดู อนฺวย ป.
  23. อนฺวาสตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ถูกกระทบแล้ว, ความยึดมั่นถือมั่น
  24. อนาคมิตา : อิต. ความเป็นพระอนาคามี
  25. อนาทรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เอื้อเฟื้อ
  26. อนามต : (นปุ.) ที่อันบุคคลไม่เคยตาย, ที่อันสัตว์ไม่เคยตาย.
  27. อนิจฺจตา : (อิต.) ความเป็นของไม่เที่ยง, ฯลฯ.
  28. อนิยมิต : ค. ไม่แน่นอน
  29. อนุทฺทยตา : อิต. ความเป็นผู้เอ็นดู
  30. อนุธมฺมตา : อิต. ความเป็นธรรมอันสมควร, ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
  31. อนุปฏิปาฏิ, - ติ : อิต. ลำดับ, ความสืบต่อ
  32. อนุปพนฺธนตา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  33. อนุปลิตฺต : ค. ไม่ถูกกิเลสแปดเปื้อน
  34. อนุปวิฏฺฐตา : อิต. ความเป็นผู้เข้าไปตาม, ความเป็นของไหลเข้าไป
  35. อนุปาปิต : กิต. เข้าถึงแล้ว, บรรลุแล้ว
  36. อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
  37. อนุภาวตา : อิต. ความเป็นผู้มีอานุภาพ, ความเป็นผู้มีอำนาจ
  38. อนุภุตฺต : กิต. ถูกกินแล้ว, ถูกเสพแล้ว
  39. อนุมิตฺต : ป. อนุมิตร, ผู้ติดตาม, สหาย, เพื่อน
  40. อนุยุตฺต : (วิ.) ประกอบเนืองๆ, ประกอบบ่อยๆ, ขวนขวาย.
  41. อนุสนฺธนตา : อิต. ๑. การประกอบ; ๒. การประยุกต์
  42. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  43. อนูนตา : อิต. ความไม่บกพร่อง, ความไม่ขาด
  44. อนูปสิตฺต : ค. ไม่ถูกฉาบทา
  45. อเนกสิกตา : อิต. ความไม่แน่นอน, ความข้องใจ
  46. อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
  47. อปณฺณกตา : อิต. ความจริง, ความแน่นอน, ความชอบธรรม
  48. อปทตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีเท้า
  49. อปฺปฏิสฺสวตา : อิต. การไม่ฟังตาม, การไม่คล้อยตาม
  50. อปฺปวตฺตา : อิต. ความไม่เป็นไป, ความไม่มีต่อไป
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0916 sec)