Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 901-950
  1. อปฺปิจฺฉตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย.
  2. อปฺโปตา : อิต. โคกกระออม, เถาวัลย์เปรียง, มะลิซ้อน
  3. อปฺโปสฺสุกตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ขวนขวาย, ความเป็นผู้ไม่พยายาม
  4. อปรนฺตานุทิฏฺฐิ : ค. ผู้มีความเห็นคล้อยตามเรื่องในส่วนอนาคต
  5. อปรนฺตาปริย : ค. ตามไปไม่มีที่สุด, สืบต่อ
  6. อปราเทวตา : อิต. เทวดาองค์อื่น
  7. อปากฏตา : อิต. ความไม่มีชื่อเสียง
  8. อปาปต : ค. ตกลง, พลัดตก
  9. อปิลาปนตา : (อิต.) ความไม่เลื่อนลอย.
  10. อปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีสภาพเหมือนไข่เน่า คือมีสุขภาพปกติ
  11. อเปตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เคารพยำเกรงบิดา, ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูลแก่บิดา
  12. อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
  13. อพฺภุ(ภู) ตธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน ; เป็นชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์
  14. อพฺภุสฺสหนตา : (อิต.) การทำความอุตสาหะ, การโจท.
  15. อพฺยากต : (วิ.) อันเป็นอัพยากฤต.
  16. อพฺยากตธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอัพยากฤต.
  17. อพหุลีกต : ค. ไม่ได้ทำให้มาก
  18. อภพฺพตา : อิต. ความไม่สมควร, ความเป็นไปไม่ได้
  19. อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
  20. อภิญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความรู้ยิ่ง, ผู้เชี่ยวชาญ
  21. อภิตปติ, อภิตปฺปติ : ก. ไหม้, เผา, ส่องแสง, เร่าร้อน, เดือดร้อน
  22. อภินิมนฺตนตา : อิต. การนิมนต์, การเชื้อเชิญ, การกล่าวต้อนรับ
  23. อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  24. อภิวิตรณ : นป. ๑. การข้ามพ้น ; ๒. การสละ
  25. อภิสนฺตาเปติ : ก. ให้เร่าร้อน, แผดเผา, ไหม้, ให้ทำลาย
  26. อภิสเมตาวี : ค. ผู้รู้แจ้งแทงตลอด, ผู้บรรลุ
  27. อมตฺต : (นปุ.) ภาชนะ, ภาชนะสามัญ.วิ.อมติกาลนฺตรํปวตฺตตึติอมตฺตํ. อมฺ คติยํ, อตฺโต.
  28. อมตฺตญฺญุตา : อิต. ความไม่รู้จักประมาณ
  29. อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  30. อมตา : อิต. มะขามป้อม
  31. อมนฺตา : ค. อันไม่ตรึกตรอง, อันไม่พิจารณา
  32. อมาตาปิติก : ค. ไม่มีมารดาบิดา, กำพร้า
  33. อมิลาตตา : อิต. ความไม่ร่วงโรย
  34. อยุตฺต : ๑. นป. ความไม่ยุติธรรม, ความไม่สมควร, ความไม่ประกอบ ๒. ค. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่ประกอบ
  35. อยุตฺต อยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย. คือคนที่เก็บของ จากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  36. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  37. อริยจิตฺต : นป. อริยจิต, จิตของพระอริยะ, จิตประเสริฐ
  38. อริยวตา, อริยวตฺตา : อิต. ผู้กล่าว, ผู้พูดถ้อยคำอันประเสริฐ
  39. อลสตา : อิต. ความง่วงเหงาหาวนอน, ความขี้เกียจ
  40. อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต
  41. อวญฺญาต, อวญฺญต (อุญฺญาต) : กิต. ถูกดูถูกแล้ว, ถูกสบประมาทแล้ว
  42. อวฏฺฐิตตา : อิต. ความมั่นคง, ความยั่งยืน, ความถาวร
  43. อวนต : ค. ดู อวณฺฏ
  44. อวฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ฉลาดเฉียบแหลม ; ความไม่แสดงผลออกมาให้ปรากฏ
  45. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  46. อวฺยายต : ค. ไม่พินิจพิเคราะห์, ประมาท
  47. อวสิตฺต : กิต. รดแล้ว, พรมแล้ว, อภิเษกแล้ว
  48. อวิตฺถนตา : อิต. ความไม่ตึง, ความไม่กระด้าง
  49. อวินิพฺภุชนฺต, อวินิพฺภุชต : กิต. ไม่แบ่งแล้ว ; ไม่สามารถรู้ได้แล้ว
  50. อวิปจฺจนีกสาตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ยินดีในการโต้แย้ง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0809 sec)