Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตะ , then , ตะ, ตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตะ, 1788 found, display 201-250
  1. จิตา : (อิต.) เชิงตะกอน วิ. จิยฺยเต ยตฺถ สา จิตา. จิ จเย, โต, อิตฺถิยํ อา.
  2. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  3. โจตฺตาลีส โจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบสี่. จตุ+ ตาลีส. รูปฯ ๒๕๖ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลบ ตุ ซ้อน ตฺ. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๑๐๐ แปลง จตุ เป็น จุ, โจ.
  4. ชนตา : (อิต.) ประชุมแห่งชน, หมู่แห่งชน, ประชุมชน, ชุมนุมชน. วิ. ชนานํ สมูโห ชนตา.
  5. ชนฺตา : (อิต.) เรือนไฟ วิ. ชลติ เอตฺถาติ ชนฺตา. ชลฺ ทิตฺติยํ, อนฺโต, ลฺโลโป.
  6. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
  7. ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
  8. ติวุตา : (อิต.) จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง. วิ. ติสฺโส วุตา ตาราชิโย ยสฺสา สา ติวุตา. เป็น ปุ. ก็มี ดู ติปุฏา ประกอบ.
  9. ตุสิตา : (อิต.) เทวดาชั้นดุสิต.วิ. ตุสิตานํ นิวาสา ตุสิตา.
  10. ทนฺตายุธ : (ปุ.) หมู ( มีฟันเป็นอาวุธ ). ส. ทนฺตายุธ.
  11. ทสสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวาฬมีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาฬานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเฬสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาฬเทวตา.
  12. ทฬิทฺทตา : อิต. ดู ทลิทฺทตา
  13. ทีฆสุตฺต : (วิ.) ผู้ประพฤติช้า, ผู้ชักช้า, ผู้เฉื่อย ชา, ผู้ผัดวันประกันพรุ่ง. วิ. โย อาลสฺ ยาวสาทีหิ อนุติฏฺฐติ โส ทีฆสุตฺโต, ทีฆญฺจ ตํ สุตฺตญฺจ ตมิว จรตีติ ทีฆสุตฺตํ, ทีฆสุตฺตปริยนฺติกํ การิยํ กโรตีติ ทีฆสุตฺโต. ฎีกาอภิฯ.
  14. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  15. เทวตานุสฺสติ : อิต. เทวตานุสสติ, การระลึกถึงคุณของเทวดา
  16. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  17. นยนเนตต : (นปุ.) ตาเป็นเครื่องนำไป, นัยน์ เนตร (ดวงตา).
  18. นรกานต : (ปุ.) นรก.นรก.ลงอนตสกัด.
  19. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  20. นาคลตา : (อิต.) พลู วิ. นาคโลเก ชาตา ลตา นาคลตา. แตงหนู มะกอก ก็แปล. ส. นาคลตา ว่าต้นหมาก.
  21. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  22. ปฏิกฺกูลตา : อิต. ดู ปฏิกูลตา
  23. ปตฺตานึก : (ปุ.) คนสี่คนมีศัตราพร้อม ชื่อ ปัตตานีกะ, พลเดินเท้า, ปัตตานีกะ, ปัตตานึก. เป็น ปตฺตาณีก บ้าง.
  24. ปริตฺตธมฺม : (ปุ.) ปริตตธรรม คือ กุศลธรรม อกุศลธรรม และ อัพยากตธรรม ที่เป็น กามาวจรทั้งหมด. ไตร. ๓๓ / ๒๖๗ / ๖๗๘.
  25. ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
  26. ปิตามห : ป. พรหม, ปู่, ตา, บรรพบุรุษ
  27. ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
  28. พหุเนตฺตผล : (นปุ.) ผลไม้มีตามาก, สับปะรด.
  29. พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
  30. ภุตฺตเสสก : (ปุ.) อาหารเป็นเดน. วิ. ภุตฺตโตเสโส ภุตฺตเสโส. โส เอว ภุตฺตเสสโก. ก สกัด.
  31. มหาปิตุ : (ปุ.) พ่อใหญ่, ปู่, ตา, มหาพรหม.
  32. มหีลตา : (อิต.) ไส้เดือน วิ. มหิยาลตา มหีลตา.
  33. ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  34. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  35. สิตา : (อิต.) รอยไถ. สิ สเย, โต, อิตฺถิยํ อา. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตายาติ สิตา. สิ พนฺธเน. สิตา นารี. ดู สีตา ด้วย.
  36. สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
  37. สีตา : (อิต.) รอยไถ วิ. เสนฺติ ฆราวาสํ เอตา ยาติ สีตา, นงฺคลเลขา. สิ พนฺธเน. โต, ทีโฆ. ส. สีตา.
  38. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  39. สุมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่ดี, ขณะดี, ยามดี, สุนฺทร+มุหุตฺต.
  40. อกฺขเทวิ อกฺขเทวี อกฺขธุตฺต : (ปุ.) นักเลงเล่นการพนัน, นักเลงสกา.อกฺขปุพฺโพ, ทิวุกีฬายํ, อิ, อี. ศัพท์หลัง อกฺข+ธุตฺต.
  41. อกฺขิตารา : อิต. ลูกตา, ดวงตา, แก้วตา
  42. อกณฺหเนตฺต : (วิ.) ผู้มีตาดำหามิได้, ผู้ไม่มีตาดำ.
  43. องฺคชาต : (นปุ.) องค์กำเนิด, องคชาต ชื่อของลับของชายและหญิง, นิมิต เครื่องหมายเพศของชายและหญิง. ส่วนมากใช้เป็นชื่อของลับของชาย แต่ในพระไตรปิฎกใช้เรียกของลับทั้งชายและหญิง. วิ.องฺค สรีเร ชายตีติ องฺคชาต. องฺคปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, โต, ชนสฺส ชาอาเทโส (แปลงชนฺเป็นชา).
  44. อจฺฉิ : (นปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, แสงไฟ, รัศมี, แสง, ตา, นัยน์ตา, วิ. อจฺฉติ เอเตนานิอจฺฉิ. อจฺฉ ทสฺสนพฺยาปเนสุ, อิ.
  45. อชินปตฺตา : (อิต.) ค้างดาว.วิ.อชินํจมฺมํปตฺตํ ยสฺสา สา อชินปตฺตาเป็นอชินปตฺติกา บ้าง. ส. อชินปตฺตรา อชินปตฺตรีอชินปตฺตริกา.
  46. อญฺญถตฺตา : (อัพ. นิบาต) ด้วยประการอื่น, โดยประการอื่น.อญฺญ+ถตฺตาปัจ.
  47. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  48. อปราชิตา : (อิต.) ทุมแทง, อัญชันเขียว.วิ.โรคาทิชิตตฺตานปราชิตาอปราชิตา.
  49. อวชฺชตา : อิต. ใช้ในคำว่า อนวชฺชตา = ความไม่น่าติเตียน, ความไม่มีโทษ
  50. อาตตายี : (ปุ.) คนร้าย, นักโทษ.อาปุพฺโพ, ตาปาลเน, ณี, ทฺวิตฺตํ(แปลงตเป็นตฺต), อาสฺสอาโย(แปลงอาเป็นอาย). แปลว่าเพชฌฆาต บ้าง.ส. อาตตายินฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1788

(0.0515 sec)